หน้าแรก

previous arrow
previous arrow
next arrow
next arrow
Slider

ติดตามข่าวสาร ความเคลื่อนไหวของหน่วยงานผ่านเฟซบุ๊กได้ที่เพจ ท้องฟ้าจำลองกรุงเทพ ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาเอกมัย

กิจกรรมและบริการ

ท่านสามารถสืบค้นกิจกรรมและบริการได้ที่หัวข้อบริการ หรือคลิกที่กล่องเมนูทั้ง 7 ด้านล่างนี้
หากมีข้อสงสัยสืบค้นได้ที่คำถามที่พบบ่อย (FAQ) หรือติดต่อกลุ่มการตลาดและประชาสัมพันธ์ โทร. 0 2392 0508, 0 2392 1773

ติดตามข่าวสาร ความเคลื่อนไหวของหน่วยงานผ่านเฟซบุ๊กได้ที่เพจ ท้องฟ้าจำลองกรุงเทพ ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาเอกมัย

กิจกรรมและบริการ

สามารถสืบค้นกิจกรรมและบริการได้ที่หัวข้อบริการ หรือคลิกที่กล่องเมนูทั้ง 7 ด้านล่าง หากมีข้อสงสัยสืบค้นได้ที่ คำถามที่พบบ่อย (FAQ) หรือโทร. 0 2392 0508, 0 2392 1773

ข่าวสาร กิจกรรม และบทความ

ท่านสามารถสืบค้นข่าวประชาสัมพันธ์ ข่าวกิจกรรม ภาพข่าวกิจกรรมได้ที่หัวข้อข่าว และบทความวิชาการที่หัวข้อบทความวิชาการ

ผีเสื้อ แมลงที่ต้องคุ้มครอง

แมลง สิ่งมีชีวิตขนาดเล็กที่มีความสำคัญในการรักษาสมดุลระบบนิเวศ เนื่องจากมีความหลากหลายของชนิดมากเป็นอันดับต้น ๆ ของสิ่งมีชีวิตที่พบบนโลก การเปลี่ยนแปลงจำนวนชนิดและประชากรของแมลงจึงสามารถใช้เป็นตัวชี้วัดความอุดมสมบูรณ์ของระบบนิเวศได้ แม้ว่าแมลงจะมีการตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศได้รวดเร็ว สามารถปรับตัวให้อยู่รอดในสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไปได้ แต่ปัจจุบันปัจจัยต่าง ๆ ล้วนทำให้แมลงปรับตัวได้ยากลำบากยิ่งขึ้นและเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ โดยหนึ่งในแมลงที่ได้รับผลกระทบในวงกว้าง คือ ผีเสื้อ แมลงสวยงามที่มีบทบาทสำคัญในธรรมชาติ ผีเสื้อ สัตว์จำพวกแมลงถูกจัดอยู่ในไฟลัมอาร์โทรโพดา (Phylum Arthropoda) อันดับ – เลพิดอปเทอรา (Order Lepidoptera) ที่มีลักษณะเด่น คือ ลำตัวไม่มีโครงกระดูกภายในเหมือนสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมแต่จะมีเปลือกแข็งที่เกิดจากสารจำพวกไคติน (Chitin) หุ้มอยู่ภายนอก ร่างกายแบ่งออกได้ 3 ส่วน คือ หัว อก และท้อง ส่วนหัว (Head) ประกอบด้วย ปาก ลักษณะเป็นท่อเหมือนงวงใช้สำหรับดูดน้ำหวาน มีหนวด 1 คู่ มีตาเดี่ยวและตาประกอบ 1 คู่ส่วนอก (Thorax) ประกอบด้วย ขา 3 คู่ และปีก 2 คู่ส่วนท้อง […]

superadmin

14 March 2024

ท้องฟ้าจำลองกรุงเทพ จัดแสดงภาพยนตร์เต็มโดม เดือนมีนาคม เรื่อง กลับไปดวงจันทร์กันเถอะ (Back to The Moon for good)

ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา (ท้องฟ้าจำลองกรุงเทพ) กรมส่งเสริมการเรียนรู้ ให้บริการส่วนการแสดงท้องฟ้าจำลองกรุงเทพ โดยเปิดการแสดงเป็นรอบ ๆ ละประมาณ 1 ชั่วโมง ให้บริการผู้ชม 280 คน ต่อ 1 รอบการแสดง ช่วงแรกของการแสดงฯ เป็นการบรรยายให้ความรู้ด้านดาราศาสตร์และอวกาศโดยนักวิชาการศึกษา และการแสดงภาพยนตร์เต็มโดมจากเครื่องฉายดาวและสื่อมัลติมีเดียในช่วงท้าย สำหรับภาพยนตร์เต็มโดม เดือนมีนาคม 2566 จัดแสดงเรื่อง กลับไปดวงจันทร์กันเถอะ (Back to The Moon for good) นำเสนอเนื้อหาสาระเกี่ยวกับดวงจันทร์และการเดินทางไปยังดวงจันทร์ของมนุษย์ ซึ่งเมื่อครั้งอดีต มนุษย์เคยไปเหยียบพื้นผิวดวงจันทร์มาแล้ว แต่มากกว่า 40 ปีที่ผ่านมา มนุษย์ยังไม่เคยเดินทางไปยังดวงจันทร์อีกเลย มาร่วมติดตามภารกิจในการกลับไปเหยียบดวงจันทร์อีกครั้ง เพื่อจุดมุ่งหมายด้านอวกาศร่วมกันของมนุษยชาติ ท่านสามารถติดต่อสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ โทรศัพท์ :  0-2392-0508, 0-2391-0544 และ 0-2392-1773 ในวันและเวลาราชการ และตรวจสอบรอบการแสดงท้องฟ้าจำลองหรือกำหนดการฉายภาพยนตร์เต็มโดม ได้ที่หน้าเว็บไซต์ www.sciplanet.org หรือ กำหนดการฉายภาพยนตร์เต็มโดม

superadmin

1 March 2024

เชิญร่วมส่งผลงานเข้าประกวด “นวัตกรรมด้านวิทยาศาสตร์สำหรับผู้สูงวัย” ประเภท สิ่งประดิษฐ์เพื่อช่วยเสริมคุณภาพชีวิต ด้านการประกอบอาชีพสำหรับผู้สูงวัย

ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา สังกัดกรมส่งเสริมการเรียนรู้ ได้ดำเนินงานจัดประกวดนวัตกรรม ด้านวิทยาศาสตร์สำหรับผู้สูงวัย “แฮปปี้…สูงวัย” ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ประเภท สิ่งประดิษฐ์เพื่อช่วยเสริมคุณภาพชีวิตด้านการประกอบอาชีพสำหรับผู้สูงวัย ในรูปแบบออนไลน์ ในวันที่ 16 มิถุนายน 2567 เพื่อส่งเสริม พัฒนาคุณภาพและศักยภาพของผู้สูงอายุและสามารถนำองค์ความรู้เรื่องราวต่าง ๆ ไปประยุกต์ใช้กับการดำเนินชีวิตได้ รวมทั้งสร้างเวทีสำหรับผู้สูงวัย ได้มีส่วนร่วมในการแสดงออกทางความคิดและการสร้างสรรค์ผลงานที่เป็นประโยชน์เพื่อขับเคลื่อนการเรียนรู้ รองรับกับสังคมสูงวัยให้เป็นผู้สูงวัยที่มีศักยภาพ โดยมีการจัดประกวดระดับประเทศ ดังนี้ การประกวดระดับประเทศ : ดำเนินการจัดการประกวดฯ โดยศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา (เอกมัย) รับสมัครบุคคลทั่วไปผู้มีอายุตั้งแต่ 55 ปีขึ้นไป เข้าประกวดนวัตกรรมด้านวิทยาศาสตร์สำหรับผู้สูงวัย “แฮปปี้…สูงวัย” ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ประเภท สิ่งประดิษฐ์เพื่อช่วยเสริมคุณภาพชีวิตด้านการประกอบอาชีพสำหรับผู้สูงวัย ตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม – 3 มิถุนายน 2567 และนำผลงานในรูปแบบออนไลน์ ในวันที่ 16 มิถุนายน 2567 และเข้ารับรางวัลในวันที่ 28 มิถุนายน 2567 […]

superadmin

29 February 2024

“เกาะความร้อน” ปรากฏการณ์ร้ายในเขตเมือง

ปัจจุบันเราต้องเผชิญกับสภาพอากาศร้อนที่ทวีความรุนเเรงมากขึ้น เมื่อเทียบกับในอดีต ยิ่งในพื้นที่เขตเมืองที่มีสิ่งปลูกสร้างจำนวนมาก อุณหภูมิความร้อนก็เพิ่มมากขึ้นตามไปด้วย เราจึงนิยามสภาพอากาศร้อนในเขตเมืองที่มากกว่าบริเวณอื่น ๆ ว่า “เกาะ” เช่นเดียวกันกับลักษณะของเกาะซึ่งเป็นพื้นดินยกตัวสูงในมหาสมุทรเเละมีน้ำล้อมรอบ การเปลี่ยนเเปลงนี้ไม่ใช่แค่การเพิ่มของอุณหภูมิเท่านั้น แต่มันยังเกี่ยวข้องกับปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นกับโลกของเรามาหลายร้อยปีที่เรียกกันว่า ปรากฏการณ์เกาะความร้อน เกาะความร้อนหรือเกาะความร้อนเมือง (Urban heat island : UHI) เป็นปรากฏการณ์ที่พื้นที่สังคมเมืองมีอุณหภูมิและมลพิษทางสิ่งแวดล้อมสูงกว่าบริเวณโดยรอบ อีกทั้งมีแสงสลัว ลมน้อย ซึ่งทั้งหมดนี้เป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงพื้นผิวของแผ่นดินจากการพัฒนาเมือง ทำให้มีอาคารก่อสร้างจำนวนมากกว่าต้นไม้ที่คอยดูดซับมลพิษหรือดักจับฝุ่นในอากาศ พื้นที่เขตเมืองเมื่อขาดต้นไม้พลังงานแสงอาทิตย์ที่แผ่มายังโลกจึงตกกระทบกับพื้นดิน และสิ่งก่อสร้างโดยตรงเกิดการสะสมพลังงานกลายเป็นความร้อนในวัตถุได้ง่าย และถ่ายเทออกสู่อากาศโดยรอบ เมื่อความร้อนที่ถ่ายเทออกมารวมตัวกันในปริมาณมาก จะก่อให้เกิดเป็นโดมความร้อนสูงครอบเมืองเอาไว้ ส่งผลให้อุณหภูมิบริเวณที่อยู่ใต้โดมสูงกว่าอุณหภูมิด้านนอกโดม ซึ่งความแตกต่างของอุณหภูมิจะชัดเจนมากในตอนกลางคืนมากกว่ากลางวัน ปรากฏการณ์เกาะความร้อนที่เกิดขึ้นในเขตเมืองล้วนมีสาเหตุหลัก ๆ มาจากปัจจัยเหล่านี้ การเพิ่มขึ้นของอาคารต่าง ๆ นำมาซึ่งการใช้ทรัพยากรด้านพลังงานที่ปล่อยทั้งพลังงานความร้อนและมลพิษออกมา สิ่งก่อสร้างที่มีมากนี้ยังก่อให้เกิดการปิดกั้นความร้อนจากพื้นดินไม่ให้แผ่ขึ้นสู่ท้องฟ้าในช่วงตอนกลางคืน ดังนั้นท้องฟ้ากลางคืนจึงเย็นกว่าพื้นดิน คุณสมบัติด้านการดูดซับ และการสะท้อนกลับของรังสีความร้อนจากผิววัสดุในสิ่งก่อสร้าง เช่น คอนกรีต และแอสฟัลต์ (ยางมะตอย) โดยเฉพาะแอสฟัลต์ที่มีคุณสมบัติในการดูดซับ และเก็บรังสีจากดวงอาทิตย์ได้ดี จึงก่อให้เกิดปรากฏการณ์เกาะความร้อนได้ง่าย การขาดการระเหยหรือคายน้ำ เนื่องจากในพื้นที่เมืองมีพื้นที่สีเขียวและต้นไม้ต่าง ๆ น้อยมาก เมื่อเทียบกับสัดส่วนของพื้นที่ซึ่งเป็นสิ่งก่อสร้าง การระเหยหรือคายน้ำของพืชเป็นปัจจัยสำคัญที่สามารถช่วยลดอุณหภูมิอากาศภาคพื้นดินได้ดีและช่วยให้พื้นที่เมืองเย็นขึ้น การบังลมของอาคารสูง ทำให้ความร้อนไม่สามารถระบายออกไปจากเมืองได้ […]

superadmin

28 February 2024

ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา ขอเชิญผู้รับบริการร่วมประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินการของหน่วยงานภาครัฐ (ITA)

ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา กรมส่งเสริมการเรียนรู้ ขอเชิญผู้รับบริการหรือผู้ติดต่อราชการร่วมประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินการของหน่วยงานภาครัฐ (ITA) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ตามมาตรการด้านการป้องกันการทุจริตและยกระดับความโปร่งใสในการเปิดเผยข้อมูลต่อสาธารณะ ตลอดจนปรับปรุงและพัฒนาให้หน่วยงานภาครัฐได้มีการบริหารงานตามระบบธรรมาภิบาล โดยท่านสามารถตอบแบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก (EIT) ผ่านลิงก์ https://itas.nacc.go.th/go/eit/urvme9 หมายเหตุ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก (EIT) ได้แก่ บุคคล นิติบุคคล บริษัทเอกชน หรือหน่วยงานของรัฐอื่นที่เคยมารับบริการหรือมาติดต่อตามภารกิจของหน่วยงาน รวมไปถึงพนักงานจ้างเหมาบริการ

superadmin

20 February 2024

ไส้กรอก : อาหารแปรรูป กินอย่างไรให้ปลอดภัย?

อาหารแปรรูปประเภทเนื้อหมัก เช่น ไส้กรอก แฮม โบโลน่า ที่หลาย คนนิยมบริโภคเป็นอาหารเช้า หรืออาหารว่าง ด้วยลักษณะรูปร่าง กลิ่นรส สี ชวนน่ารับประทาน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ไส้กรอก ที่เนื้อสัมผัสเหนียวนุ่ม อร่อย มีทั้งแบบสำเร็จรูปพร้อมรับประทาน หรือซื้อนำมาประกอบอาหารเอง ปัจจุบันมีให้เลือกหลากหลายชนิดหาซื้อได้ง่ายตามท้องตลาด แต่รู้หรือไม่ว่าในไส้กรอกมีส่วนประกอบอะไรบ้าง ? และมีความปลอดภัยหรือไม่ ? ส่วนประกอบหลักในไส้กรอกมีโปรตีนที่ได้จากเนื้อสัตว์ ไขมัน น้ำ เป็นส่วนช่วยให้เนื้อสัมผัสเกิดความนุ่ม ชุ่มฉ่ำ นอกจากนี้ยังมีส่วนประกอบอื่น คือ วัตถุเจือปน ที่ใช้เป็นวัตถุกันเสีย เพื่อรักษาสีสันของเนื้อสัตว์ให้ดูสดใหม่ ช่วยยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ในอาหารป้องกันการเน่าเสีย ซึ่งเป็นสารกลุ่มไนไตรต์ ไนเตรต อย่างโซเดียมไนไตรต์ และโซเดียมไนเตรต หรือที่คุ้นเคยกันอย่าง ดินประสิว มีชื่อทางเคมีว่า โปแตสเซียมไนเตรต ถึงแม้ว่าสารเหล่านี้จะมีข้อดี แต่มีข้อที่ต้องระมัดระวังด้วยเช่นกัน เพราะวัตถุเจือปนสามารถทำให้เกิดผลเสียต่อระบบทางเดินอาหารได้ ทำให้มีอาการคลื่นไส้ อาเจียน ปวดหัว ปวดท้องอย่างรุนแรง หากรับประทานเกินปริมาณที่กำหนดจะก่อให้เกิดอันตราย ส่งผลต่อการทำงานของ ฮีโมโกลบิน ในเม็ดเลือด ที่ทำหน้าที่ในการส่งออกซิเจนไปยังส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย ทำให้เกิดภาวะขาดออกซิเจน […]

superadmin

19 February 2024

เรารู้อายุของปลาได้อย่างไร

เรารู้อายุของมนุษย์และสัตว์ได้ด้วยการคำนวณจากวันเดือนปีเกิด ส่วนอายุของต้นไม้ก็คำนวณได้จากวงปีในเนื้อไม้ของต้นไม้นั้น ๆ ถ้าเราอยากรู้อายุของปลา จะรู้ได้จากอะไร ปลาเป็นสิ่งมีชีวิต ย่อมต้องมีการเจริญเติบโต จากรายงานทางวิชาการพบว่าปลาทะเลบางชนิดในเขตอบอุ่นมีอายุถึง 20 ปี เช่น ปลาแฮร์ริ่งในทะเลเหนือ หรือปลาบึกในแม่น้ำโขงอาจมีอายุมากกว่า 15 ปี ในขณะที่ ปลาทูอาจมีอายุเพียง 3 ปี ก่อนจะถูกชาวประมงจับ นักวิทยาศาสตร์มีวิธีคำนวณอายุของปลาหลายวิธีขึ้นอยู่กับชนิดของปลานั้น ๆ สำหรับปลามีเกล็ด จำนวนเกล็ดจะไม่เปลี่ยนแปลงตั้งแต่เกิดจนตาย เราจึงไม่สามารถรู้อายุของปลาจากจำนวนเกล็ดได้ ดังนั้น นักวิทยาศาสตร์จึงใช้วิธีนับจำนวนวงปีบนเกล็ดปลา ซึ่งวงปีดังกล่าว มีลักษณะเป็นวง และมีเส้นขอบชัดเจนเป็นการแสดงระยะเวลาการเจริญเติบโตของปลาเหล่านั้น หากบนเกล็ดปลานั้นมีวงปีจำนวนมาก แสดงว่าปลานั้นมีอายุมาก ในกรณีที่ปลาไม่มีเกล็ด จะใช้วิธีคำนวณอายุจากกระดูกหูของปลา (กระดูกชิ้นเล็ก ๆ ที่เชื่อมระหว่างหูกับกระเพาะลม) โดยการนำกระดูกหูไปตัดขวาง แล้วสังเกตวงปีบนกระดูกหูของปลานั้น อ้างอิง หนังสือ 243 คำถามวิทย์ต่อยอดความคิดไม่รู้จบ หนังสือ ชีวิตน่ารู้ นานมีบุ๊คส์ 2543 https://www.saranukromthai.or.th

superadmin

12 February 2024

“กระต่ายบนดวงจันทร์” จากความเชื่อสู่เรื่องจริงของแพริโดเลีย

ดวงจันทร์ที่ปรากฏบนท้องฟ้าเป็นบริวารของโลกที่ไม่มีแสงสว่างในตัวเอง เเต่เเสงที่เห็นนั้นเกิดจากแสงสะท้อนของดวงอาทิตย์ ทำให้มองเห็นดวงจันทร์ มีลักษณะต่าง ๆ เช่น ดวงจันทร์ครึ่งเสี้ยว ดวงจันทร์เสี้ยว เเละดวงจันทร์เต็มดวง นอกจากนี้เมื่อมองจากพื้นโลกหากสังเกตดี ๆ อาจเห็นพื้นผิวดวงจันทร์ที่เหมือนมีเงาสีเทา ซึ่งมีรูปร่างคล้ายกับกระต่ายตัวใหญ่ดังเช่นในนิทานหรือตำนานพื้นบ้านของหลาย ๆ ประเทศ ที่มักกล่าวถึงเรื่องราวการอาศัยอยู่บนดวงจันทร์ของกระต่าย เช่น แอฟริกา ทิเบต จีน ญี่ปุ่น อเมริกากลางเเละอเมริกาใต้ แล้วกระต่ายบนดวงจันทร์มีจริงหรือไม่ กระต่ายบนดวงจันทร์ คือ บริเวณเงาสีเทาที่เกิดจากการพุ่งชนดวงจันทร์ของอุกกาบาต ประมาณ 3.9-3 พันล้านปีที่แล้ว การพุ่งชนของอุกกาบาตส่งผลให้เกิดหลุมขนาดใหญ่ เเละทำให้พื้นผิวของดวงจันทร์ทะลุจนแมกมาซึ่งอยู่ด้านล่างไหลออกมาเป็นลาวาจำนวนมาก เมื่อลาวาเย็นตัวลงอย่างรวดเร็วจึงเกิดเป็นหินบะซอลต์ที่มีสีเทาถึงดำ ซึ่งบริเวณเเอ่งราบที่ลาวาไหลมาปกคลุมนี้ถูกเรียกว่าทะเล (Sea) หรือมาเร (Mare) เพราะมีพื้นที่กว้างใหญ่เปรียบได้กับทะเลบนพื้นโลกเพียงแค่ไม่มีน้ำเท่านั้นเอง หากมองจากโลกพื้นที่ที่เป็นหินบะซอลต์จะมีสีทึบมองดูคล้ายกับกระต่าย ส่วนพื้นที่ที่อยู่สูงกว่าทะเลจะมีสีจางเรียกว่า ที่สูงดวงจันทร์ หรือ Lunar highland ความสูง-ต่ำของพื้นที่เเละหินบะซอลต์นี่เองที่เป็นอีกหนึ่งเหตุผลว่าทำไมเราถึงมองเห็นเหมือนว่ามีกระต่ายอยู่บนดวงจันทร์ แพริโดเลีย (Pareidolia) กับกระต่ายบนดวงจันทร์ เคยสงสัยกันไหม เเค่หินบะซอลต์ทำไมจึงกลายเป็นกระต่ายได้ล่ะ กระต่ายที่เราเห็นนั้นเเท้จริงเเล้วเกิดจากปรากฏการณ์แพริโดเลีย (Pareidolia) ซึ่งเป็นปรากฏการณ์ทางจิตใจของมนุษย์เท่านั้น เเพริโดเลียเป็นทักษะการจดจำใบหน้าที่มนุษย์มีติดตัวมาตั้งแต่กำเนิด ช่วยให้สามารถระบุหน้าตาสิ่งต่าง ๆ […]

superadmin

5 February 2024

ค่ายนักดาราศาสตร์น้อย

ค่าย 1 วัน สนุกสนานเพลิดเพลินไปกับกิจกรรมการเรียนรู้ด้านอวกาศและดาราศาสตร์ เช่น การประดิษฐ์เครื่องร่อน ฝึกใช้แผนที่ดาว เรียนรู้กลุ่มดาวผ่านนิทานดาว ดูดาวผ่านการแสดงทางท้องฟ้าจำลอง ตั้งกล้องโทรทรรศน์ สังเกตการณ์วัตถุท้องฟ้า สำหรับน้องๆ อายุ 9 – 12 ปี (เกิดปี พ.ศ. 2555 – 2558) จำนวน 60 คน โดยผู้เข้าร่วมกิจกรรมจะได้ฝึกปฏิบัติการติดตั้งกล้องโทรทรรศน์ขนาดเล็กพร้อมทั้งได้นำกลับบ้านเพื่อใช้งานต่อไป กลุ่มเป้าหมาย เด็กอายุ 9 – 12 ปี (เกิดปี พ.ศ. 2555 – 2558) วันที่จัดกิจกรรม 19 เมษายน 2567 วันที่รับสมัคร 9 – 15 กุมภาพันธ์ 2567 วันที่ชำระเงิน 19 – 23 กุมภาพันธ์ 2567 สถานที่จัดกิจกรรม ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา […]

superadmin

1 February 2024

ผีเสื้อ แมลงที่ต้องคุ้มครอง

แมลง สิ่งมีชีวิตขนาดเล็กที่มีความสำคัญในการรักษาสมดุลระบบนิเวศ เนื่องจากมีความหลากหลายของชนิดมากเป็นอันดับต้น ๆ ของสิ่งมีชีวิตที่พบบนโลก การเปลี่ยนแปลงจำนวนชนิดและประชากรของแมลงจึงสามารถใช้เป็นตัวชี้วัดความอุดมสมบูรณ์ของระบบนิเวศได้ แม้ว่าแมลงจะมีการตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศได้รวดเร็ว สามารถปรับตัวให้อยู่รอดในสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไปได้ แต่ปัจจุบันปัจจัยต่าง ๆ ล้วนทำให้แมลงปรับตัวได้ยากลำบากยิ่งขึ้นและเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ โดยหนึ่งในแมลงที่ได้รับผลกระทบในวงกว้าง คือ ผีเสื้อ แมลงสวยงามที่มีบทบาทสำคัญในธรรมชาติ ผีเสื้อ สัตว์จำพวกแมลงถูกจัดอยู่ในไฟลัมอาร์โทรโพดา (Phylum Arthropoda) อันดับ – เลพิดอปเทอรา (Order Lepidoptera) ที่มีลักษณะเด่น คือ ลำตัวไม่มีโครงกระดูกภายในเหมือนสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมแต่จะมีเปลือกแข็งที่เกิดจากสารจำพวกไคติน (Chitin) หุ้มอยู่ภายนอก ร่างกายแบ่งออกได้ 3 ส่วน คือ หัว อก และท้อง ส่วนหัว (Head) ประกอบด้วย ปาก ลักษณะเป็นท่อเหมือนงวงใช้สำหรับดูดน้ำหวาน มีหนวด 1 คู่ มีตาเดี่ยวและตาประกอบ 1 คู่ ส่วนอก (Thorax) ประกอบด้วย ขา 3 คู่ และปีก 2 […]

superadmin

14 March 2024

ท้องฟ้าจำลองกรุงเทพ จัดแสดงภาพยนตร์เต็มโดม เดือนมีนาคม เรื่อง กลับไปดวงจันทร์กันเถอะ (Back to The Moon for good)

ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา (ท้องฟ้าจำลองกรุงเทพ) กรมส่งเสริมการเรียนรู้ ให้บริการส่วนการแสดงท้องฟ้าจำลองกรุงเทพ โดยเปิดการแสดงเป็นรอบ ๆ ละประมาณ 1 ชั่วโมง ให้บริการผู้ชม 280 คน ต่อ 1 รอบการแสดง ช่วงแรกของการแสดงฯ เป็นการบรรยายให้ความรู้ด้านดาราศาสตร์และอวกาศโดยนักวิชาการศึกษา และการแสดงภาพยนตร์เต็มโดมจากเครื่องฉายดาวและสื่อมัลติมีเดียในช่วงท้าย สำหรับภาพยนตร์เต็มโดม เดือนมีนาคม 2566 จัดแสดงเรื่อง กลับไปดวงจันทร์กันเถอะ (Back to The Moon for good) นำเสนอเนื้อหาสาระเกี่ยวกับดวงจันทร์และการเดินทางไปยังดวงจันทร์ของมนุษย์ ซึ่งเมื่อครั้งอดีต มนุษย์เคยไปเหยียบพื้นผิวดวงจันทร์มาแล้ว แต่มากกว่า 40 ปีที่ผ่านมา มนุษย์ยังไม่เคยเดินทางไปยังดวงจันทร์อีกเลย มาร่วมติดตามภารกิจในการกลับไปเหยียบดวงจันทร์อีกครั้ง เพื่อจุดมุ่งหมายด้านอวกาศร่วมกันของมนุษยชาติ ท่านสามารถติดต่อสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ โทรศัพท์ :  0-2392-0508, 0-2391-0544 และ 0-2392-1773 ในวันและเวลาราชการ และตรวจสอบรอบการแสดงท้องฟ้าจำลองหรือกำหนดการฉายภาพยนตร์เต็มโดม ได้ที่หน้าเว็บไซต์ www.sciplanet.org หรือ กำหนดการฉายภาพยนตร์เต็มโดม

เชิญร่วมส่งผลงานเข้าประกวด “นวัตกรรมด้านวิทยาศาสตร์สำหรับผู้สูงวัย” ประเภท สิ่งประดิษฐ์เพื่อช่วยเสริมคุณภาพชีวิต ด้านการประกอบอาชีพสำหรับผู้สูงวัย

ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา สังกัดกรมส่งเสริมการเรียนรู้ ได้ดำเนินงานจัดประกวดนวัตกรรม ด้านวิทยาศาสตร์สำหรับผู้สูงวัย “แฮปปี้…สูงวัย” ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ประเภท สิ่งประดิษฐ์เพื่อช่วยเสริมคุณภาพชีวิตด้านการประกอบอาชีพสำหรับผู้สูงวัย ในรูปแบบออนไลน์ ในวันที่ 16 มิถุนายน 2567 เพื่อส่งเสริม พัฒนาคุณภาพและศักยภาพของผู้สูงอายุและสามารถนำองค์ความรู้เรื่องราวต่าง ๆ ไปประยุกต์ใช้กับการดำเนินชีวิตได้ รวมทั้งสร้างเวทีสำหรับผู้สูงวัย ได้มีส่วนร่วมในการแสดงออกทางความคิดและการสร้างสรรค์ผลงานที่เป็นประโยชน์เพื่อขับเคลื่อนการเรียนรู้ รองรับกับสังคมสูงวัยให้เป็นผู้สูงวัยที่มีศักยภาพ โดยมีการจัดประกวดระดับประเทศ ดังนี้ การประกวดระดับประเทศ : ดำเนินการจัดการประกวดฯ โดยศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา (เอกมัย) รับสมัครบุคคลทั่วไปผู้มีอายุตั้งแต่ 55 ปีขึ้นไป เข้าประกวดนวัตกรรมด้านวิทยาศาสตร์สำหรับผู้สูงวัย “แฮปปี้…สูงวัย” ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ประเภท สิ่งประดิษฐ์เพื่อช่วยเสริมคุณภาพชีวิตด้านการประกอบอาชีพสำหรับผู้สูงวัย ตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม – 3 มิถุนายน 2567 และนำผลงานในรูปแบบออนไลน์ ในวันที่ 16 มิถุนายน 2567 และเข้ารับรางวัลในวันที่ 28 มิถุนายน 2567 […]

“เกาะความร้อน” ปรากฏการณ์ร้ายในเขตเมือง

ปัจจุบันเราต้องเผชิญกับสภาพอากาศร้อนที่ทวีความรุนเเรงมากขึ้น เมื่อเทียบกับในอดีต ยิ่งในพื้นที่เขตเมืองที่มีสิ่งปลูกสร้างจำนวนมาก อุณหภูมิความร้อนก็เพิ่มมากขึ้นตามไปด้วย เราจึงนิยามสภาพอากาศร้อนในเขตเมืองที่มากกว่าบริเวณอื่น ๆ ว่า “เกาะ” เช่นเดียวกันกับลักษณะของเกาะซึ่งเป็นพื้นดินยกตัวสูงในมหาสมุทรเเละมีน้ำล้อมรอบ การเปลี่ยนเเปลงนี้ไม่ใช่แค่การเพิ่มของอุณหภูมิเท่านั้น แต่มันยังเกี่ยวข้องกับปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นกับโลกของเรามาหลายร้อยปีที่เรียกกันว่า ปรากฏการณ์เกาะความร้อน เกาะความร้อนหรือเกาะความร้อนเมือง (Urban heat island : UHI) เป็นปรากฏการณ์ที่พื้นที่สังคมเมืองมีอุณหภูมิและมลพิษทางสิ่งแวดล้อมสูงกว่าบริเวณโดยรอบ อีกทั้งมีแสงสลัว ลมน้อย ซึ่งทั้งหมดนี้เป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงพื้นผิวของแผ่นดินจากการพัฒนาเมือง ทำให้มีอาคารก่อสร้างจำนวนมากกว่าต้นไม้ที่คอยดูดซับมลพิษหรือดักจับฝุ่นในอากาศ พื้นที่เขตเมืองเมื่อขาดต้นไม้พลังงานแสงอาทิตย์ที่แผ่มายังโลกจึงตกกระทบกับพื้นดิน และสิ่งก่อสร้างโดยตรงเกิดการสะสมพลังงานกลายเป็นความร้อนในวัตถุได้ง่าย และถ่ายเทออกสู่อากาศโดยรอบ เมื่อความร้อนที่ถ่ายเทออกมารวมตัวกันในปริมาณมาก จะก่อให้เกิดเป็นโดมความร้อนสูงครอบเมืองเอาไว้ ส่งผลให้อุณหภูมิบริเวณที่อยู่ใต้โดมสูงกว่าอุณหภูมิด้านนอกโดม ซึ่งความแตกต่างของอุณหภูมิจะชัดเจนมากในตอนกลางคืนมากกว่ากลางวัน ปรากฏการณ์เกาะความร้อนที่เกิดขึ้นในเขตเมืองล้วนมีสาเหตุหลัก ๆ มาจากปัจจัยเหล่านี้ การเพิ่มขึ้นของอาคารต่าง ๆ นำมาซึ่งการใช้ทรัพยากรด้านพลังงานที่ปล่อยทั้งพลังงานความร้อนและมลพิษออกมา สิ่งก่อสร้างที่มีมากนี้ยังก่อให้เกิดการปิดกั้นความร้อนจากพื้นดินไม่ให้แผ่ขึ้นสู่ท้องฟ้าในช่วงตอนกลางคืน ดังนั้นท้องฟ้ากลางคืนจึงเย็นกว่าพื้นดิน คุณสมบัติด้านการดูดซับ และการสะท้อนกลับของรังสีความร้อนจากผิววัสดุในสิ่งก่อสร้าง เช่น คอนกรีต และแอสฟัลต์ (ยางมะตอย) โดยเฉพาะแอสฟัลต์ที่มีคุณสมบัติในการดูดซับ และเก็บรังสีจากดวงอาทิตย์ได้ดี จึงก่อให้เกิดปรากฏการณ์เกาะความร้อนได้ง่าย การขาดการระเหยหรือคายน้ำ เนื่องจากในพื้นที่เมืองมีพื้นที่สีเขียวและต้นไม้ต่าง ๆ น้อยมาก เมื่อเทียบกับสัดส่วนของพื้นที่ซึ่งเป็นสิ่งก่อสร้าง การระเหยหรือคายน้ำของพืชเป็นปัจจัยสำคัญที่สามารถช่วยลดอุณหภูมิอากาศภาคพื้นดินได้ดีและช่วยให้พื้นที่เมืองเย็นขึ้น การบังลมของอาคารสูง ทำให้ความร้อนไม่สามารถระบายออกไปจากเมืองได้ […]

ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา ขอเชิญผู้รับบริการร่วมประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินการของหน่วยงานภาครัฐ (ITA)

ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา กรมส่งเสริมการเรียนรู้ ขอเชิญผู้รับบริการหรือผู้ติดต่อราชการร่วมประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินการของหน่วยงานภาครัฐ (ITA) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ตามมาตรการด้านการป้องกันการทุจริตและยกระดับความโปร่งใสในการเปิดเผยข้อมูลต่อสาธารณะ ตลอดจนปรับปรุงและพัฒนาให้หน่วยงานภาครัฐได้มีการบริหารงานตามระบบธรรมาภิบาล โดยท่านสามารถตอบแบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก (EIT) ผ่านลิงก์ https://itas.nacc.go.th/go/eit/urvme9 หมายเหตุ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก (EIT) ได้แก่ บุคคล นิติบุคคล บริษัทเอกชน หรือหน่วยงานของรัฐอื่นที่เคยมารับบริการหรือมาติดต่อตามภารกิจของหน่วยงาน รวมไปถึงพนักงานจ้างเหมาบริการ

ไส้กรอก : อาหารแปรรูป กินอย่างไรให้ปลอดภัย?

อาหารแปรรูปประเภทเนื้อหมัก เช่น ไส้กรอก แฮม โบโลน่า ที่หลาย คนนิยมบริโภคเป็นอาหารเช้า หรืออาหารว่าง ด้วยลักษณะรูปร่าง กลิ่นรส สี ชวนน่ารับประทาน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ไส้กรอก ที่เนื้อสัมผัสเหนียวนุ่ม อร่อย มีทั้งแบบสำเร็จรูปพร้อมรับประทาน หรือซื้อนำมาประกอบอาหารเอง ปัจจุบันมีให้เลือกหลากหลายชนิดหาซื้อได้ง่ายตามท้องตลาด แต่รู้หรือไม่ว่าในไส้กรอกมีส่วนประกอบอะไรบ้าง ? และมีความปลอดภัยหรือไม่ ? ส่วนประกอบหลักในไส้กรอกมีโปรตีนที่ได้จากเนื้อสัตว์ ไขมัน น้ำ เป็นส่วนช่วยให้เนื้อสัมผัสเกิดความนุ่ม ชุ่มฉ่ำ นอกจากนี้ยังมีส่วนประกอบอื่น คือ วัตถุเจือปน ที่ใช้เป็นวัตถุกันเสีย เพื่อรักษาสีสันของเนื้อสัตว์ให้ดูสดใหม่ ช่วยยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ในอาหารป้องกันการเน่าเสีย ซึ่งเป็นสารกลุ่มไนไตรต์ ไนเตรต อย่างโซเดียมไนไตรต์ และโซเดียมไนเตรต หรือที่คุ้นเคยกันอย่าง ดินประสิว มีชื่อทางเคมีว่า โปแตสเซียมไนเตรต ถึงแม้ว่าสารเหล่านี้จะมีข้อดี แต่มีข้อที่ต้องระมัดระวังด้วยเช่นกัน เพราะวัตถุเจือปนสามารถทำให้เกิดผลเสียต่อระบบทางเดินอาหารได้ ทำให้มีอาการคลื่นไส้ อาเจียน ปวดหัว ปวดท้องอย่างรุนแรง หากรับประทานเกินปริมาณที่กำหนดจะก่อให้เกิดอันตราย ส่งผลต่อการทำงานของ ฮีโมโกลบิน ในเม็ดเลือด ที่ทำหน้าที่ในการส่งออกซิเจนไปยังส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย ทำให้เกิดภาวะขาดออกซิเจน […]

เรารู้อายุของปลาได้อย่างไร

เรารู้อายุของมนุษย์และสัตว์ได้ด้วยการคำนวณจากวันเดือนปีเกิด ส่วนอายุของต้นไม้ก็คำนวณได้จากวงปีในเนื้อไม้ของต้นไม้นั้น ๆ ถ้าเราอยากรู้อายุของปลา จะรู้ได้จากอะไร ปลาเป็นสิ่งมีชีวิต ย่อมต้องมีการเจริญเติบโต จากรายงานทางวิชาการพบว่าปลาทะเลบางชนิดในเขตอบอุ่นมีอายุถึง 20 ปี เช่น ปลาแฮร์ริ่งในทะเลเหนือ หรือปลาบึกในแม่น้ำโขงอาจมีอายุมากกว่า 15 ปี ในขณะที่ ปลาทูอาจมีอายุเพียง 3 ปี ก่อนจะถูกชาวประมงจับ นักวิทยาศาสตร์มีวิธีคำนวณอายุของปลาหลายวิธีขึ้นอยู่กับชนิดของปลานั้น ๆ สำหรับปลามีเกล็ด จำนวนเกล็ดจะไม่เปลี่ยนแปลงตั้งแต่เกิดจนตาย เราจึงไม่สามารถรู้อายุของปลาจากจำนวนเกล็ดได้ ดังนั้น นักวิทยาศาสตร์จึงใช้วิธีนับจำนวนวงปีบนเกล็ดปลา ซึ่งวงปีดังกล่าว มีลักษณะเป็นวง และมีเส้นขอบชัดเจนเป็นการแสดงระยะเวลาการเจริญเติบโตของปลาเหล่านั้น หากบนเกล็ดปลานั้นมีวงปีจำนวนมาก แสดงว่าปลานั้นมีอายุมาก ในกรณีที่ปลาไม่มีเกล็ด จะใช้วิธีคำนวณอายุจากกระดูกหูของปลา (กระดูกชิ้นเล็ก ๆ ที่เชื่อมระหว่างหูกับกระเพาะลม) โดยการนำกระดูกหูไปตัดขวาง แล้วสังเกตวงปีบนกระดูกหูของปลานั้น อ้างอิง หนังสือ 243 คำถามวิทย์ต่อยอดความคิดไม่รู้จบ หนังสือ ชีวิตน่ารู้ นานมีบุ๊คส์ 2543 https://www.saranukromthai.or.th

“กระต่ายบนดวงจันทร์” จากความเชื่อสู่เรื่องจริงของแพริโดเลีย

ดวงจันทร์ที่ปรากฏบนท้องฟ้าเป็นบริวารของโลกที่ไม่มีแสงสว่างในตัวเอง เเต่เเสงที่เห็นนั้นเกิดจากแสงสะท้อนของดวงอาทิตย์ ทำให้มองเห็นดวงจันทร์ มีลักษณะต่าง ๆ เช่น ดวงจันทร์ครึ่งเสี้ยว ดวงจันทร์เสี้ยว เเละดวงจันทร์เต็มดวง นอกจากนี้เมื่อมองจากพื้นโลกหากสังเกตดี ๆ อาจเห็นพื้นผิวดวงจันทร์ที่เหมือนมีเงาสีเทา ซึ่งมีรูปร่างคล้ายกับกระต่ายตัวใหญ่ดังเช่นในนิทานหรือตำนานพื้นบ้านของหลาย ๆ ประเทศ ที่มักกล่าวถึงเรื่องราวการอาศัยอยู่บนดวงจันทร์ของกระต่าย เช่น แอฟริกา ทิเบต จีน ญี่ปุ่น อเมริกากลางเเละอเมริกาใต้ แล้วกระต่ายบนดวงจันทร์มีจริงหรือไม่ กระต่ายบนดวงจันทร์ คือ บริเวณเงาสีเทาที่เกิดจากการพุ่งชนดวงจันทร์ของอุกกาบาต ประมาณ 3.9-3 พันล้านปีที่แล้ว การพุ่งชนของอุกกาบาตส่งผลให้เกิดหลุมขนาดใหญ่ เเละทำให้พื้นผิวของดวงจันทร์ทะลุจนแมกมาซึ่งอยู่ด้านล่างไหลออกมาเป็นลาวาจำนวนมาก เมื่อลาวาเย็นตัวลงอย่างรวดเร็วจึงเกิดเป็นหินบะซอลต์ที่มีสีเทาถึงดำ ซึ่งบริเวณเเอ่งราบที่ลาวาไหลมาปกคลุมนี้ถูกเรียกว่าทะเล (Sea) หรือมาเร (Mare) เพราะมีพื้นที่กว้างใหญ่เปรียบได้กับทะเลบนพื้นโลกเพียงแค่ไม่มีน้ำเท่านั้นเอง หากมองจากโลกพื้นที่ที่เป็นหินบะซอลต์จะมีสีทึบมองดูคล้ายกับกระต่าย ส่วนพื้นที่ที่อยู่สูงกว่าทะเลจะมีสีจางเรียกว่า ที่สูงดวงจันทร์ หรือ Lunar highland ความสูง-ต่ำของพื้นที่เเละหินบะซอลต์นี่เองที่เป็นอีกหนึ่งเหตุผลว่าทำไมเราถึงมองเห็นเหมือนว่ามีกระต่ายอยู่บนดวงจันทร์ แพริโดเลีย (Pareidolia) กับกระต่ายบนดวงจันทร์ เคยสงสัยกันไหม เเค่หินบะซอลต์ทำไมจึงกลายเป็นกระต่ายได้ล่ะ กระต่ายที่เราเห็นนั้นเเท้จริงเเล้วเกิดจากปรากฏการณ์แพริโดเลีย (Pareidolia) ซึ่งเป็นปรากฏการณ์ทางจิตใจของมนุษย์เท่านั้น เเพริโดเลียเป็นทักษะการจดจำใบหน้าที่มนุษย์มีติดตัวมาตั้งแต่กำเนิด ช่วยให้สามารถระบุหน้าตาสิ่งต่าง ๆ […]

ค่ายนักดาราศาสตร์น้อย

ค่าย 1 วัน สนุกสนานเพลิดเพลินไปกับกิจกรรมการเรียนรู้ด้านอวกาศและดาราศาสตร์ เช่น การประดิษฐ์เครื่องร่อน ฝึกใช้แผนที่ดาว เรียนรู้กลุ่มดาวผ่านนิทานดาว ดูดาวผ่านการแสดงทางท้องฟ้าจำลอง ตั้งกล้องโทรทรรศน์ สังเกตการณ์วัตถุท้องฟ้า สำหรับน้องๆ อายุ 9 – 12 ปี (เกิดปี พ.ศ. 2555 – 2558) จำนวน 60 คน โดยผู้เข้าร่วมกิจกรรมจะได้ฝึกปฏิบัติการติดตั้งกล้องโทรทรรศน์ขนาดเล็กพร้อมทั้งได้นำกลับบ้านเพื่อใช้งานต่อไป กลุ่มเป้าหมาย เด็กอายุ 9 – 12 ปี (เกิดปี พ.ศ. 2555 – 2558) วันที่จัดกิจกรรม 19 เมษายน 2567 วันที่รับสมัคร 9 – 15 กุมภาพันธ์ 2567 วันที่ชำระเงิน 19 – 23 กุมภาพันธ์ 2567 สถานที่จัดกิจกรรม ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา […]