หน้าแรก

previous arrow
previous arrow
next arrow
next arrow
Slider

ติดตามข่าวสาร ความเคลื่อนไหวของหน่วยงานผ่านเฟซบุ๊กได้ที่เพจ ท้องฟ้าจำลองกรุงเทพ ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาเอกมัย

กิจกรรมและบริการ

ท่านสามารถสืบค้นกิจกรรมและบริการได้ที่หัวข้อบริการ หรือคลิกที่กล่องเมนูทั้ง 7 ด้านล่างนี้
หากมีข้อสงสัยสืบค้นได้ที่คำถามที่พบบ่อย (FAQ) หรือติดต่อกลุ่มการตลาดและประชาสัมพันธ์ โทร. 0 2392 0508, 0 2392 1773

ติดตามข่าวสาร ความเคลื่อนไหวของหน่วยงานผ่านเฟซบุ๊กได้ที่เพจ ท้องฟ้าจำลองกรุงเทพ ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาเอกมัย

กิจกรรมและบริการ

สามารถสืบค้นกิจกรรมและบริการได้ที่หัวข้อบริการ หรือคลิกที่กล่องเมนูทั้ง 7 ด้านล่าง หากมีข้อสงสัยสืบค้นได้ที่ คำถามที่พบบ่อย (FAQ) หรือโทร. 0 2392 0508, 0 2392 1773

ข่าวสาร กิจกรรม และบทความ

ท่านสามารถสืบค้นข่าวประชาสัมพันธ์ ข่าวกิจกรรม ภาพข่าวกิจกรรมได้ที่หัวข้อข่าว และบทความวิชาการที่หัวข้อบทความวิชาการ

SECRET OF LIFE

ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา จัดกิจกรรมเสริมนิทรรศการ เรื่อง SECRET OF LIFE ในวันที่ 26 เมษายน 2567 เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับให้ความรู้เกี่ยวกับการถ่ายทอดรหัสพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต กุญแจดอกสำคัญที่ใช้ในการไขรหัสลับของชีวิตคืออะไร? ทำไมสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดถึงมีลักษณะรูปร่างที่แตกต่างกันและใครเป็นผู้ค้นพบกุญแจดอกนี้ ? มาร่วมไขความลับของสิ่งมีชีวิตกันได้ที่นิทรรศการความลับของสิ่งมีชีวิต วันที่จัดกิจกรรม วันที่ 26 เมษายน 2567 สถานที่จัดกิจกรรม ณ นิทรรศการความลับของสิ่งมีชีวิต ชั้น4 อาคารพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ (อาคาร2) ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา จึงประชาสัมพันธ์มาให้ทราบโดยทั่วกัน

superadmin

23 April 2024

“ช้าง…สัตว์ใหญ่ในยุคดึกดำบรรพ์”

ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา จัดกิจกรรมเสริมนิทรรศการ เรื่อง “ช้าง…สัตว์ใหญ่ในยุคดึกดำบรรพ์” ในวันที่ 24 – 25 เมษายน 2567 เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับช้างในยุคดึกดำบรรพ์ผ่านสื่อและทำกิจกรรมเสริมโดยการประดิษฐ์ ตกแต่งการ์ดป๊อปอัพ (จำนวนจำกัด) ณ นิทรรศการไดโนเสาร์ ชั้น 2 อาคารธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา จึงประชาสัมพันธ์มาให้ทราบโดยทั่วกัน

superadmin

23 April 2024

SCE Summer Market

ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา จัดกิจกรรมพิเศษ “SCE Summer Market เปิดพื้นที่ส่งเสริมการมีส่วนร่วมกับชุมชน” โดยกำหนดจัดกิจกรรมช่วงสุดสัปดาห์ของเดือนเมษายน – พฤษภาคม 2567 วันที่จัดกิจกรรม ครั้งที่ 1 วันที่ 27-28  เมษายน 2567 ครั้งที่ 2 วันที่ 5 พฤษภาคม 2567 ครั้งที่ 3 วันที่ 11-12 พฤษภาคม 2567 ครั้งที่ 4 วันที่ 18-19 พฤษภาคม 2567 ครั้งที่ 5 วันที่  25-26 พฤษภาคม 2567 กิจกรรมภายในงาน ภายในงานมีกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้จากศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา ภาคีเครือข่ายทั้งภาครัฐและเอกชน รวมถึงหน่วยงานในสังกัดกรมส่งเสริมการเรียนรู้ และร้านค้าชุมชน กิจกรรม DIY กิจรรม Art & Craft กิจกรรม Workshop Food […]

superadmin

23 April 2024

รถไฟเหาะตีลังกา

เครื่องเล่นในสวนสนุกเป็นที่นิยมสำหรับคนที่ชอบความท้าทายต้องไม่พลาดกันเลย นั่นก็คือ “รถไฟเหาะตีลังกา” ซึ่งเป็นเครื่องเล่นน่าหวาดเสียว อาจจะเป็นเรื่องยากสักหน่อยที่ในขณะเล่นอยู่นั้นจะไม่กรีดร้องเลย เพราะการเคลื่อนที่ของรถไฟเหาะตีลังกาเกิดจากแรงโน้มถ่วงของโลกกับแรงเฉื่อยในการเคลื่อนที่จากที่สูงลงมาอย่างอิสระตามเส้นทางของรางที่ถูกออกแบบไว้ แต่เบื้องหลังของความสนุกสุดเหวี่ยงที่เกิดขึ้นทำให้เราได้เครื่องเล่นที่สามารถสร้างความสนุกสนานแล้ว การเคลื่อนที่ของเครื่องเล่นชิ้นนี้ยังใช้หลักการของฟิสิกส์หลาย ๆ อย่าง เช่น พลังงานศักย์โน้มถ่วง พลังงานจลน์ แรงเข้าสู่ศูนย์กลาง แรงโน้มถ่วงของโลก เป็นต้น การเคลื่อนที่ของรถไฟเหาะตีลังกาเริ่มต้นจากการถูกดึงด้วยระบบโซ่และมอเตอร์ขึ้นไปยังจุดสูงสุดเพื่อทำการปล่อยลงมาตามแรงโน้มถ่วงของโลกและเคลื่อนที่ด้วยแรงเฉื่อย การกักเก็บพลังงานทำให้รถไฟที่กำลังเคลื่อนที่ลงอย่างอิสระจากจุดสูงสุดนั้นจะมีพลังงานศักย์โน้มถ่วงมากที่จุดเริ่มต้นของราง ขณะที่รถไฟถูกปล่อยลงมาจะเปลี่ยนเป็นพลังงานจลน์และจะมีพลังงานจลน์สูงสุด ณ จุดต่ำสุดของราง ยิ่งจุดเริ่มต้นนั้นมีความสูงมากเท่าไหร่ พลังงานศักย์โน้มถ่วงก็ยิ่งมีมากขึ้นเท่านั้นและเปลี่ยนเป็นพลังงานจลน์ได้มากขึ้นตามความเร็วเพิ่มมากขึ้นเช่นเดียวกัน ยกตัวอย่างองศาของรางทำมุม 60 ํ สามารถทำความเร็วได้ถึง 125 km/h เลยทีเดียว จากความรู้สึกที่ได้เล่นรถไฟเหาะนั้น ในขณะรถไฟเหาะกำลังแล่นลงมาจากที่สูงวิ่งเข้ามายังวงกลม จะเกิดแรงกระทำต่อตัวเรามากที่สุด เราจะรู้สึกว่าน้ำหนักตัวเองเพิ่มขึ้นจนหลังติดเบาะ และเมื่อรถไฟเคลื่อนที่ขึ้นไปถึงจุดบนสุดของวงกลม เราจะรู้สึกได้ถึงสภาวะไร้น้ำหนัก และกลับมาสู่ภาวะปกติอีกครั้งเมื่อลงมาที่จุดต่ำสุด การเปลี่ยนแปลงของแรงที่กระทำต่อตัวเราทำให้เรารู้สึกสนุก ตื่นเต้นตลอดเวลาในขณะนั่งอยู่บนรถไฟเหาะ ยิ่งหากรางมีรูปแบบเป็นหยดน้ำทรงคว่ำด้วยแล้ว ความสนุกจะเกิดขึ้นจากการที่รัศมีของวงกลมด้านบนมีค่าน้อยกว่าด้านล่าง ก่อให้เกิดแรงเข้าสู่ศูนย์กลางของรถไฟด้านบนมีค่ามากกว่าด้านล่าง จึงทำให้ตัวของเราติดกับที่นั่งมากขึ้น และเมื่อรถไฟแล่นกลับลงมาความเร่งจะลดลง ผู้เล่นจะไม่รู้สึกอึดอัดนั่นเอง รวมถึงโค้งต่าง ๆ ในเส้นทางของรางที่จะเกิดแรงเข้าสู่ศูนย์กลางด้วยเช่นกัน ปัจจุบันวิศวกรออกแบบรถไฟได้นำเทคโนโลยีระบบมอเตอร์และแม่เหล็กไฟฟ้าเข้ามาช่วยในการเคลื่อนที่ เพื่อให้รถไฟขับเคลื่อนไปได้อย่างต่อเนื่องในรูปแบบหลากหลายมากยิ่งขึ้น ในความสนุกสนานก็มีอันตรายเช่นเดียวกัน ซึ่งการเล่นเครื่องเล่นในสวนสนุกก็อย่าลืมปฏิบัติตามคำแนะนำที่บอกเอาไว้ อ้างอิง ฟิสิกส์ของรถไฟเหาะ ฟิสิกส์ในชีวิตประจำวัน […]

superadmin

8 April 2024

เรือใบแล่นทวนลมได้ไหม?

ก่อนที่จะหาคำตอบของคำถามนี้ เรามารู้จักเรือใบเบื้องต้นจากเรือใบขนาดเล็กกันก่อน เรือใบขนาดเล็กนั้นนอกจากตัวเรือแล้วยังมีส่วนประกอบที่สำคัญหลักคือ ใบเรือ หางเสือเรือ และคัดแคง ใบเรือ (Sail) ทำหน้าที่รับลมและและสร้างแรงผลักให้เรือแล่นไปข้างหน้า แต่ใบเรือต้องอยู่ในองศาเหมาะสมกับทิศทางลม หางเสือเรือ (Rudder) ใช้ควบคุมทิศทางเรือ เมื่อหางเสือปัดไปทางใด หัวเรือก็จะหันไปในทิศทางเดียวกัน คัดแคง (Center Board หรือ Drager Board) มีลักษณะเป็นแผ่นกระดานยื่นลงไปใต้ท้องเรือ ทำหน้าที่ป้องกันไม่ให้เรือเซหรือเอียงเมื่อแล่นขวางทิศทางลม การแล่นของเรือใบ เกิดจากใบเรือได้รับแรงจากลมที่พัดมา แรงลมก็จะไหลไปตามพื้นผิวของใบเรือและแรงนั้นจะถูกส่งไปยังท้ายเรือ เกิดเป็นแรงผลักให้เรือแล่นไปข้างหน้าได้ โดยการที่เรือใบจะเคลื่อนที่ไปยังทิศทางที่ต้องการได้นั้นขึ้นอยู่กับใบเรือและหางเสือ ใบเรือต้องอยู่ในองศาที่เหมาะสมกับทิศทางลม และหางเสือต้องบังคับเรือไปยังทิศทางที่ใบเรือรับลมได้ ซึ่งการปรับองศาของใบเรือต้องสัมพันธ์กับทิศทางของลมที่พัดมา ทั้งนี้สามารถบังคับเรือให้ไปยังทิศทางที่สวนลมได้อีกด้วย ตามปกติแล้วหากเป็นลมสวนในทิศทางตรง ใบเรือจะไม่สามารถรับลมให้เรือแล่นไปข้างหน้าตรง ๆ ได้เลย การจะแล่นเรือใบในสภาวะสวนลมได้ การบังคับเรือต้องให้องศาของใบเรืออยู่ในลักษณะเฉียงกับทิศทางลมที่สวนมา แรงลมสวนที่ปะทะใบเรือจะถูกเปลี่ยนทิศทางโดยใบเรือที่เปลี่ยนองศาไปขณะแล่นอยู่ ส่งผลให้เรือแล่นในลักษณะโค้งสลับไปมา จนไปถึงจุดหมายด้านหน้าได้ อ้างอิง https://www.blockdit.com/posts/5ee43aeb3d014a0ca37861a1 http://www.rmutphysics.com/charud/scibook/physcis-for-everyday/physics-for-everydayuse-content/1-20/indexcontent20.htm

superadmin

1 April 2024

ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา ปิดให้บริการวันหยุดนักขัตฤกษ์ เดือนเมษายน 2567

ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา ปิดให้บริการวันหยุดนักขัตฤกษ์ เดือนเมษายน 2567 ดังนี้ 6 เมษายน 2567 วันที่ระลึกมหาจักรีบรมราชวงศ์ 8 เมษายน 2567 วันหยุดชดเชย วันที่ระลึกมหาจักรีบรมราชวงศ์ 12 เมษายน 2567 วันหยุดราชการ เพิ่มเป็นกรณีพิเศษ 13 – 15 เมษายน 2567 วันสงกรานต์ 16 เมษายน 2567 วันหยุดชดเชย วันสงกรานต์

superadmin

28 March 2024

ท้องฟ้าจำลองกรุงเทพ จัดแสดงภาพยนตร์เต็มโดม เดือนเมษายน 2567 เรื่อง “จากโลกสู่จักรวาล” (From Earth to the Universe)

ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา (ท้องฟ้าจำลองกรุงเทพ) กรมส่งเสริมการเรียนรู้ ให้บริการส่วนการแสดงท้องฟ้าจำลองกรุงเทพ โดยเปิดการแสดงเป็นรอบ ๆ ละประมาณ 1 ชั่วโมง ให้บริการผู้ชม 280 คน ต่อ 1 รอบการแสดง ช่วงแรกของการแสดงฯ เป็นการบรรยายให้ความรู้ด้านดาราศาสตร์และอวกาศโดยนักวิชาการศึกษา และการแสดงภาพยนตร์เต็มโดมจากเครื่องฉายดาวและสื่อมัลติมีเดียในช่วงท้าย การแสดงภาพยนตร์เต็มโดม เดือนเมษายน 2567 เรื่อง “จากโลกสู่จักรวาล” (From Earth to the Universe) ท้องฟ้ายามค่ำคืนทั้งสวยงามและลึกลับ ตำนานโบราณและความน่าสะพรึงกลัวของมันมักเป็นหัวข้อของเรื่องราวที่เล่าขานกันในแคมป์ไฟอยู่เสมอ ตราบใดที่ยังคงมีมนุษย์อยู่ ความปรารถนาที่จะหยั่งรู้จักรวาลอาจเป็นประสบการณ์ทางปัญญาที่เก่าแก่ที่สุดของมนุษยชาติ แต่เมื่อไม่นานมานี้ เราเพิ่งเริ่มเข้าใจอย่างแท้จริงถึงตำแหน่งที่อยู่ของเราในจักรวาลอันกว้างใหญ่ เพื่อเรียนรู้เกี่ยวกับการค้นพบนี้จากทฤษฎีของทฤษฎีของนักดาราศาสตร์ชาวกรีกโบราณมาสู่เรื่องราวของกล้องโทรทรรศน์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในปัจจุบัน ขอเชิญคุณสัมผัสประสบการณ์จากโลกสู่จักรวาล การเดินทางอันน่าตื่นตาตื่นใจตลอด 30 นาที ผ่านอวกาศและกาลเวลาไปสู่จักรวาลตามข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ ผู้ชมจะได้ชื่นชมความงดงามของระบบสุริยะและดวงอาทิตย์อันแสนร้อนแรง ภาพยนตร์เรื่องนี้จะพาผู้ชมออกไปสู่สถานที่เกิดอันมีสีสันและสถานที่ฝังศพของดาวฤกษ์และยังคงไกลเกินกว่าทางช้างเผือกไปจนถึงความใหญ่โตที่ไม่สามารถคาดการณ์ได้ของกาแลคซีมากมาย ผู้ชมจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับประวัติดาราศาสตร์ การประดิษฐ์กล้องโทรทรรศน์ และกล้องโทรทรรศน์ขนาดยักษ์ของวันนี้เพื่อให้เราสามารถสำรวจความลึกของจักรวาลได้

superadmin

28 March 2024

ดาวยูเรนัส (Uranus)

ดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่าอยู่ 5 ดวง ได้แก่ ดาวพุธ ดาวศุกร์ ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี และ ดาวเสาร์ ตามลำดับ ส่วนดาวยูเรนัสกับดาวเนปจูนนั้น จะไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า จำเป็นต้องอาศัยกล้องโทรทรรศน์ในการช่วยสังเกต ในบทความนี้เราจะมาทำความรู้จักกับดาวยูเรนัสกัน ดาวยูเรนัส (Uranus) เป็นดาวเคราะห์ลำดับที่ 7 ของระบบสุริยะ ในช่วงที่ดาวยูเรนัสเข้าใกล้โลกที่สุดจะเป็นช่วงที่เราสามารถมองเห็นดาวยูเรนัสด้วยตาเปล่าได้ ซึ่งในช่วงนี้ดาวยูเรนัสจะมีโชติมาตรปรากฏ 5.7 (โชติมาตรปรากฏที่เราสามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่าคือ 6) เป็นช่วงที่พอจะสังเกตเห็นได้จาง ๆ แต่เราจะจำแนกไม่ได้ หรือเกือบไม่ได้ เนื่องจากบนท้องฟ้าในเวลากลางคืนมีดาวที่มีความสว่างใกล้เคียงกับดาวยูเรนัสอยู่เป็นจำนวนมาก จุดแสงของดาวยูเรนัสจึงกลมกลืนไปกับดาวฉากหลัง ทำให้ไม่อาจจำแนกได้ว่าจุดไหนเป็นดาวยูเรนัส ดาวยูเรนัสมีอีกชื่อเรียกหนึ่งในภาษาไทยว่า ดาวมฤตยู ซึ่งแปลว่า ดาวแห่งความตาย ส่วนคำว่า ‘ยูเรนัส’ นั้น มาจากชื่อของเทพเจ้ากรีก ซึ่งเป็นเทพเจ้าแห่งท้องฟ้า คำ ๆ นี้ได้ถูกเสนอให้นำมาตั้งเป็นชื่อดาวเพื่อที่จะได้สอดคล้องกับชื่อดาวดวงอื่นที่เป็นชื่อของเทพเจ้าเช่นกัน และชื่อนี้ก็ได้ถูกยอมรับกันอย่างกว้างขวางดาวยูเรนัส มีองค์ประกอบคล้ายดาวพฤหัสบดี ซึ่งภายในดาวจะประกอบไปด้วยไฮโดรเจน และฮีเลียม เป็นส่วนใหญ่ แต่ลึกลงไปชั้นในมีส่วนประกอบของ แอมโมเนีย และมีเทน ผสมอยู่ด้วย เนื่องจากดาวยูเรนัส […]

superadmin

25 March 2024

ผีเสื้อ แมลงที่ต้องคุ้มครอง

แมลง สิ่งมีชีวิตขนาดเล็กที่มีความสำคัญในการรักษาสมดุลระบบนิเวศ เนื่องจากมีความหลากหลายของชนิดมากเป็นอันดับต้น ๆ ของสิ่งมีชีวิตที่พบบนโลก การเปลี่ยนแปลงจำนวนชนิดและประชากรของแมลงจึงสามารถใช้เป็นตัวชี้วัดความอุดมสมบูรณ์ของระบบนิเวศได้ แม้ว่าแมลงจะมีการตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศได้รวดเร็ว สามารถปรับตัวให้อยู่รอดในสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไปได้ แต่ปัจจุบันปัจจัยต่าง ๆ ล้วนทำให้แมลงปรับตัวได้ยากลำบากยิ่งขึ้นและเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ โดยหนึ่งในแมลงที่ได้รับผลกระทบในวงกว้าง คือ ผีเสื้อ แมลงสวยงามที่มีบทบาทสำคัญในธรรมชาติ ผีเสื้อ สัตว์จำพวกแมลงถูกจัดอยู่ในไฟลัมอาร์โทรโพดา (Phylum Arthropoda) อันดับ – เลพิดอปเทอรา (Order Lepidoptera) ที่มีลักษณะเด่น คือ ลำตัวไม่มีโครงกระดูกภายในเหมือนสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมแต่จะมีเปลือกแข็งที่เกิดจากสารจำพวกไคติน (Chitin) หุ้มอยู่ภายนอก ร่างกายแบ่งออกได้ 3 ส่วน คือ หัว อก และท้อง ส่วนหัว (Head) ประกอบด้วย ปาก ลักษณะเป็นท่อเหมือนงวงใช้สำหรับดูดน้ำหวาน มีหนวด 1 คู่ มีตาเดี่ยวและตาประกอบ 1 คู่ ส่วนอก (Thorax) ประกอบด้วย ขา 3 คู่ และปีก 2 […]

superadmin

14 March 2024

SECRET OF LIFE

ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา จัดกิจกรรมเสริมนิทรรศการ เรื่อง SECRET OF LIFE ในวันที่ 26 เมษายน 2567 เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับให้ความรู้เกี่ยวกับการถ่ายทอดรหัสพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต กุญแจดอกสำคัญที่ใช้ในการไขรหัสลับของชีวิตคืออะไร? ทำไมสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดถึงมีลักษณะรูปร่างที่แตกต่างกันและใครเป็นผู้ค้นพบกุญแจดอกนี้ ? มาร่วมไขความลับของสิ่งมีชีวิตกันได้ที่นิทรรศการความลับของสิ่งมีชีวิต วันที่จัดกิจกรรม วันที่ 26 เมษายน 2567 สถานที่จัดกิจกรรม ณ นิทรรศการความลับของสิ่งมีชีวิต ชั้น4 อาคารพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ (อาคาร2) ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา จึงประชาสัมพันธ์มาให้ทราบโดยทั่วกัน

superadmin

23 April 2024

“ช้าง…สัตว์ใหญ่ในยุคดึกดำบรรพ์”

ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา จัดกิจกรรมเสริมนิทรรศการ เรื่อง “ช้าง…สัตว์ใหญ่ในยุคดึกดำบรรพ์” ในวันที่ 24 – 25 เมษายน 2567 เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับช้างในยุคดึกดำบรรพ์ผ่านสื่อและทำกิจกรรมเสริมโดยการประดิษฐ์ ตกแต่งการ์ดป๊อปอัพ (จำนวนจำกัด) ณ นิทรรศการไดโนเสาร์ ชั้น 2 อาคารธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา จึงประชาสัมพันธ์มาให้ทราบโดยทั่วกัน

SCE Summer Market

ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา จัดกิจกรรมพิเศษ “SCE Summer Market เปิดพื้นที่ส่งเสริมการมีส่วนร่วมกับชุมชน” โดยกำหนดจัดกิจกรรมช่วงสุดสัปดาห์ของเดือนเมษายน – พฤษภาคม 2567 วันที่จัดกิจกรรม ครั้งที่ 1 วันที่ 27-28  เมษายน 2567 ครั้งที่ 2 วันที่ 5 พฤษภาคม 2567 ครั้งที่ 3 วันที่ 11-12 พฤษภาคม 2567 ครั้งที่ 4 วันที่ 18-19 พฤษภาคม 2567 ครั้งที่ 5 วันที่  25-26 พฤษภาคม 2567 กิจกรรมภายในงาน ภายในงานมีกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้จากศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา ภาคีเครือข่ายทั้งภาครัฐและเอกชน รวมถึงหน่วยงานในสังกัดกรมส่งเสริมการเรียนรู้ และร้านค้าชุมชน กิจกรรม DIY กิจรรม Art & Craft กิจกรรม Workshop Food […]

รถไฟเหาะตีลังกา

เครื่องเล่นในสวนสนุกเป็นที่นิยมสำหรับคนที่ชอบความท้าทายต้องไม่พลาดกันเลย นั่นก็คือ “รถไฟเหาะตีลังกา” ซึ่งเป็นเครื่องเล่นน่าหวาดเสียว อาจจะเป็นเรื่องยากสักหน่อยที่ในขณะเล่นอยู่นั้นจะไม่กรีดร้องเลย เพราะการเคลื่อนที่ของรถไฟเหาะตีลังกาเกิดจากแรงโน้มถ่วงของโลกกับแรงเฉื่อยในการเคลื่อนที่จากที่สูงลงมาอย่างอิสระตามเส้นทางของรางที่ถูกออกแบบไว้ แต่เบื้องหลังของความสนุกสุดเหวี่ยงที่เกิดขึ้นทำให้เราได้เครื่องเล่นที่สามารถสร้างความสนุกสนานแล้ว การเคลื่อนที่ของเครื่องเล่นชิ้นนี้ยังใช้หลักการของฟิสิกส์หลาย ๆ อย่าง เช่น พลังงานศักย์โน้มถ่วง พลังงานจลน์ แรงเข้าสู่ศูนย์กลาง แรงโน้มถ่วงของโลก เป็นต้น การเคลื่อนที่ของรถไฟเหาะตีลังกาเริ่มต้นจากการถูกดึงด้วยระบบโซ่และมอเตอร์ขึ้นไปยังจุดสูงสุดเพื่อทำการปล่อยลงมาตามแรงโน้มถ่วงของโลกและเคลื่อนที่ด้วยแรงเฉื่อย การกักเก็บพลังงานทำให้รถไฟที่กำลังเคลื่อนที่ลงอย่างอิสระจากจุดสูงสุดนั้นจะมีพลังงานศักย์โน้มถ่วงมากที่จุดเริ่มต้นของราง ขณะที่รถไฟถูกปล่อยลงมาจะเปลี่ยนเป็นพลังงานจลน์และจะมีพลังงานจลน์สูงสุด ณ จุดต่ำสุดของราง ยิ่งจุดเริ่มต้นนั้นมีความสูงมากเท่าไหร่ พลังงานศักย์โน้มถ่วงก็ยิ่งมีมากขึ้นเท่านั้นและเปลี่ยนเป็นพลังงานจลน์ได้มากขึ้นตามความเร็วเพิ่มมากขึ้นเช่นเดียวกัน ยกตัวอย่างองศาของรางทำมุม 60 ํ สามารถทำความเร็วได้ถึง 125 km/h เลยทีเดียว จากความรู้สึกที่ได้เล่นรถไฟเหาะนั้น ในขณะรถไฟเหาะกำลังแล่นลงมาจากที่สูงวิ่งเข้ามายังวงกลม จะเกิดแรงกระทำต่อตัวเรามากที่สุด เราจะรู้สึกว่าน้ำหนักตัวเองเพิ่มขึ้นจนหลังติดเบาะ และเมื่อรถไฟเคลื่อนที่ขึ้นไปถึงจุดบนสุดของวงกลม เราจะรู้สึกได้ถึงสภาวะไร้น้ำหนัก และกลับมาสู่ภาวะปกติอีกครั้งเมื่อลงมาที่จุดต่ำสุด การเปลี่ยนแปลงของแรงที่กระทำต่อตัวเราทำให้เรารู้สึกสนุก ตื่นเต้นตลอดเวลาในขณะนั่งอยู่บนรถไฟเหาะ ยิ่งหากรางมีรูปแบบเป็นหยดน้ำทรงคว่ำด้วยแล้ว ความสนุกจะเกิดขึ้นจากการที่รัศมีของวงกลมด้านบนมีค่าน้อยกว่าด้านล่าง ก่อให้เกิดแรงเข้าสู่ศูนย์กลางของรถไฟด้านบนมีค่ามากกว่าด้านล่าง จึงทำให้ตัวของเราติดกับที่นั่งมากขึ้น และเมื่อรถไฟแล่นกลับลงมาความเร่งจะลดลง ผู้เล่นจะไม่รู้สึกอึดอัดนั่นเอง รวมถึงโค้งต่าง ๆ ในเส้นทางของรางที่จะเกิดแรงเข้าสู่ศูนย์กลางด้วยเช่นกัน ปัจจุบันวิศวกรออกแบบรถไฟได้นำเทคโนโลยีระบบมอเตอร์และแม่เหล็กไฟฟ้าเข้ามาช่วยในการเคลื่อนที่ เพื่อให้รถไฟขับเคลื่อนไปได้อย่างต่อเนื่องในรูปแบบหลากหลายมากยิ่งขึ้น ในความสนุกสนานก็มีอันตรายเช่นเดียวกัน ซึ่งการเล่นเครื่องเล่นในสวนสนุกก็อย่าลืมปฏิบัติตามคำแนะนำที่บอกเอาไว้ อ้างอิง ฟิสิกส์ของรถไฟเหาะ ฟิสิกส์ในชีวิตประจำวัน […]

เรือใบแล่นทวนลมได้ไหม?

ก่อนที่จะหาคำตอบของคำถามนี้ เรามารู้จักเรือใบเบื้องต้นจากเรือใบขนาดเล็กกันก่อน เรือใบขนาดเล็กนั้นนอกจากตัวเรือแล้วยังมีส่วนประกอบที่สำคัญหลักคือ ใบเรือ หางเสือเรือ และคัดแคง ใบเรือ (Sail) ทำหน้าที่รับลมและและสร้างแรงผลักให้เรือแล่นไปข้างหน้า แต่ใบเรือต้องอยู่ในองศาเหมาะสมกับทิศทางลม หางเสือเรือ (Rudder) ใช้ควบคุมทิศทางเรือ เมื่อหางเสือปัดไปทางใด หัวเรือก็จะหันไปในทิศทางเดียวกัน คัดแคง (Center Board หรือ Drager Board) มีลักษณะเป็นแผ่นกระดานยื่นลงไปใต้ท้องเรือ ทำหน้าที่ป้องกันไม่ให้เรือเซหรือเอียงเมื่อแล่นขวางทิศทางลม การแล่นของเรือใบ เกิดจากใบเรือได้รับแรงจากลมที่พัดมา แรงลมก็จะไหลไปตามพื้นผิวของใบเรือและแรงนั้นจะถูกส่งไปยังท้ายเรือ เกิดเป็นแรงผลักให้เรือแล่นไปข้างหน้าได้ โดยการที่เรือใบจะเคลื่อนที่ไปยังทิศทางที่ต้องการได้นั้นขึ้นอยู่กับใบเรือและหางเสือ ใบเรือต้องอยู่ในองศาที่เหมาะสมกับทิศทางลม และหางเสือต้องบังคับเรือไปยังทิศทางที่ใบเรือรับลมได้ ซึ่งการปรับองศาของใบเรือต้องสัมพันธ์กับทิศทางของลมที่พัดมา ทั้งนี้สามารถบังคับเรือให้ไปยังทิศทางที่สวนลมได้อีกด้วย ตามปกติแล้วหากเป็นลมสวนในทิศทางตรง ใบเรือจะไม่สามารถรับลมให้เรือแล่นไปข้างหน้าตรง ๆ ได้เลย การจะแล่นเรือใบในสภาวะสวนลมได้ การบังคับเรือต้องให้องศาของใบเรืออยู่ในลักษณะเฉียงกับทิศทางลมที่สวนมา แรงลมสวนที่ปะทะใบเรือจะถูกเปลี่ยนทิศทางโดยใบเรือที่เปลี่ยนองศาไปขณะแล่นอยู่ ส่งผลให้เรือแล่นในลักษณะโค้งสลับไปมา จนไปถึงจุดหมายด้านหน้าได้ อ้างอิง https://www.blockdit.com/posts/5ee43aeb3d014a0ca37861a1 http://www.rmutphysics.com/charud/scibook/physcis-for-everyday/physics-for-everydayuse-content/1-20/indexcontent20.htm

ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา ปิดให้บริการวันหยุดนักขัตฤกษ์ เดือนเมษายน 2567

ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา ปิดให้บริการวันหยุดนักขัตฤกษ์ เดือนเมษายน 2567 ดังนี้ 6 เมษายน 2567 วันที่ระลึกมหาจักรีบรมราชวงศ์ 8 เมษายน 2567 วันหยุดชดเชย วันที่ระลึกมหาจักรีบรมราชวงศ์ 12 เมษายน 2567 วันหยุดราชการ เพิ่มเป็นกรณีพิเศษ 13 – 15 เมษายน 2567 วันสงกรานต์ 16 เมษายน 2567 วันหยุดชดเชย วันสงกรานต์

ท้องฟ้าจำลองกรุงเทพ จัดแสดงภาพยนตร์เต็มโดม เดือนเมษายน 2567 เรื่อง “จากโลกสู่จักรวาล” (From Earth to the Universe)

ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา (ท้องฟ้าจำลองกรุงเทพ) กรมส่งเสริมการเรียนรู้ ให้บริการส่วนการแสดงท้องฟ้าจำลองกรุงเทพ โดยเปิดการแสดงเป็นรอบ ๆ ละประมาณ 1 ชั่วโมง ให้บริการผู้ชม 280 คน ต่อ 1 รอบการแสดง ช่วงแรกของการแสดงฯ เป็นการบรรยายให้ความรู้ด้านดาราศาสตร์และอวกาศโดยนักวิชาการศึกษา และการแสดงภาพยนตร์เต็มโดมจากเครื่องฉายดาวและสื่อมัลติมีเดียในช่วงท้าย การแสดงภาพยนตร์เต็มโดม เดือนเมษายน 2567 เรื่อง “จากโลกสู่จักรวาล” (From Earth to the Universe) ท้องฟ้ายามค่ำคืนทั้งสวยงามและลึกลับ ตำนานโบราณและความน่าสะพรึงกลัวของมันมักเป็นหัวข้อของเรื่องราวที่เล่าขานกันในแคมป์ไฟอยู่เสมอ ตราบใดที่ยังคงมีมนุษย์อยู่ ความปรารถนาที่จะหยั่งรู้จักรวาลอาจเป็นประสบการณ์ทางปัญญาที่เก่าแก่ที่สุดของมนุษยชาติ แต่เมื่อไม่นานมานี้ เราเพิ่งเริ่มเข้าใจอย่างแท้จริงถึงตำแหน่งที่อยู่ของเราในจักรวาลอันกว้างใหญ่ เพื่อเรียนรู้เกี่ยวกับการค้นพบนี้จากทฤษฎีของทฤษฎีของนักดาราศาสตร์ชาวกรีกโบราณมาสู่เรื่องราวของกล้องโทรทรรศน์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในปัจจุบัน ขอเชิญคุณสัมผัสประสบการณ์จากโลกสู่จักรวาล การเดินทางอันน่าตื่นตาตื่นใจตลอด 30 นาที ผ่านอวกาศและกาลเวลาไปสู่จักรวาลตามข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ ผู้ชมจะได้ชื่นชมความงดงามของระบบสุริยะและดวงอาทิตย์อันแสนร้อนแรง ภาพยนตร์เรื่องนี้จะพาผู้ชมออกไปสู่สถานที่เกิดอันมีสีสันและสถานที่ฝังศพของดาวฤกษ์และยังคงไกลเกินกว่าทางช้างเผือกไปจนถึงความใหญ่โตที่ไม่สามารถคาดการณ์ได้ของกาแลคซีมากมาย ผู้ชมจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับประวัติดาราศาสตร์ การประดิษฐ์กล้องโทรทรรศน์ และกล้องโทรทรรศน์ขนาดยักษ์ของวันนี้เพื่อให้เราสามารถสำรวจความลึกของจักรวาลได้

ดาวยูเรนัส (Uranus)

ดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่าอยู่ 5 ดวง ได้แก่ ดาวพุธ ดาวศุกร์ ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี และ ดาวเสาร์ ตามลำดับ ส่วนดาวยูเรนัสกับดาวเนปจูนนั้น จะไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า จำเป็นต้องอาศัยกล้องโทรทรรศน์ในการช่วยสังเกต ในบทความนี้เราจะมาทำความรู้จักกับดาวยูเรนัสกัน ดาวยูเรนัส (Uranus) เป็นดาวเคราะห์ลำดับที่ 7 ของระบบสุริยะ ในช่วงที่ดาวยูเรนัสเข้าใกล้โลกที่สุดจะเป็นช่วงที่เราสามารถมองเห็นดาวยูเรนัสด้วยตาเปล่าได้ ซึ่งในช่วงนี้ดาวยูเรนัสจะมีโชติมาตรปรากฏ 5.7 (โชติมาตรปรากฏที่เราสามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่าคือ 6) เป็นช่วงที่พอจะสังเกตเห็นได้จาง ๆ แต่เราจะจำแนกไม่ได้ หรือเกือบไม่ได้ เนื่องจากบนท้องฟ้าในเวลากลางคืนมีดาวที่มีความสว่างใกล้เคียงกับดาวยูเรนัสอยู่เป็นจำนวนมาก จุดแสงของดาวยูเรนัสจึงกลมกลืนไปกับดาวฉากหลัง ทำให้ไม่อาจจำแนกได้ว่าจุดไหนเป็นดาวยูเรนัส ดาวยูเรนัสมีอีกชื่อเรียกหนึ่งในภาษาไทยว่า ดาวมฤตยู ซึ่งแปลว่า ดาวแห่งความตาย ส่วนคำว่า ‘ยูเรนัส’ นั้น มาจากชื่อของเทพเจ้ากรีก ซึ่งเป็นเทพเจ้าแห่งท้องฟ้า คำ ๆ นี้ได้ถูกเสนอให้นำมาตั้งเป็นชื่อดาวเพื่อที่จะได้สอดคล้องกับชื่อดาวดวงอื่นที่เป็นชื่อของเทพเจ้าเช่นกัน และชื่อนี้ก็ได้ถูกยอมรับกันอย่างกว้างขวางดาวยูเรนัส มีองค์ประกอบคล้ายดาวพฤหัสบดี ซึ่งภายในดาวจะประกอบไปด้วยไฮโดรเจน และฮีเลียม เป็นส่วนใหญ่ แต่ลึกลงไปชั้นในมีส่วนประกอบของ แอมโมเนีย และมีเทน ผสมอยู่ด้วย เนื่องจากดาวยูเรนัส […]

ผีเสื้อ แมลงที่ต้องคุ้มครอง

แมลง สิ่งมีชีวิตขนาดเล็กที่มีความสำคัญในการรักษาสมดุลระบบนิเวศ เนื่องจากมีความหลากหลายของชนิดมากเป็นอันดับต้น ๆ ของสิ่งมีชีวิตที่พบบนโลก การเปลี่ยนแปลงจำนวนชนิดและประชากรของแมลงจึงสามารถใช้เป็นตัวชี้วัดความอุดมสมบูรณ์ของระบบนิเวศได้ แม้ว่าแมลงจะมีการตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศได้รวดเร็ว สามารถปรับตัวให้อยู่รอดในสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไปได้ แต่ปัจจุบันปัจจัยต่าง ๆ ล้วนทำให้แมลงปรับตัวได้ยากลำบากยิ่งขึ้นและเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ โดยหนึ่งในแมลงที่ได้รับผลกระทบในวงกว้าง คือ ผีเสื้อ แมลงสวยงามที่มีบทบาทสำคัญในธรรมชาติ ผีเสื้อ สัตว์จำพวกแมลงถูกจัดอยู่ในไฟลัมอาร์โทรโพดา (Phylum Arthropoda) อันดับ – เลพิดอปเทอรา (Order Lepidoptera) ที่มีลักษณะเด่น คือ ลำตัวไม่มีโครงกระดูกภายในเหมือนสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมแต่จะมีเปลือกแข็งที่เกิดจากสารจำพวกไคติน (Chitin) หุ้มอยู่ภายนอก ร่างกายแบ่งออกได้ 3 ส่วน คือ หัว อก และท้อง ส่วนหัว (Head) ประกอบด้วย ปาก ลักษณะเป็นท่อเหมือนงวงใช้สำหรับดูดน้ำหวาน มีหนวด 1 คู่ มีตาเดี่ยวและตาประกอบ 1 คู่ ส่วนอก (Thorax) ประกอบด้วย ขา 3 คู่ และปีก 2 […]