Skip to content
ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา

ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา

  • หน้าแรก
  • ข่าว
    • ข่าวประชาสัมพันธ์
    • ข่าวกิจกรรม
    • ภาพข่าวกิจกรรม
  • ประกาศ
    • แผนการจัดซื้อจัดจ้าง
    • ประกาศจัดซื้อจัดจ้าง
    • ประกาศรับสมัครงาน
    • รางวัลที่ภาคภูมิใจ
    • ระเบียบ ข้อกำหนด และประกาศ
    • นโยบายการอนุรักษ์พลังงาน
  • บริการ
    • ท้องฟ้าจำลอง
      • ระบบแสดงที่นั่งการแสดงท้องฟ้าจำลอง
      • กำหนดการฉายภาพยนตร์เต็มโดม
      • ตารางรอบการแสดงท้องฟ้าจำลอง
    • นิทรรศการถาวร
    • นิทรรศการเสมือนจริง
    • ศูนย์บริการวิทยาศาสตร์สุขภาพ
    • ศูนย์สร้างสรรค์เยาวชน
    • กิจกรรมการศึกษา
      • ใบจองกิจกรรมการศึกษา
    • กิจกรรมและสือการเรียนรู้ออนไลน์
    • ข้อมูลวิชาการ
      • บทความวิชาการ
      • บทความวิชาการ (PDF)
      • สื่อการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
      • คู่มือสําหรับผู้สอนหรือผู้นํากิจกรรม
  • ระบบสารสนเทศ
    • ฐานข้อมูลโครงการประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สำหรับนักศึกษา กศน.
    • รายงานผลการดำเนินงาน
    • ข้อมูลเชิงสถิติการให้บริการ
    • เอกสารดาวน์โหลด
      • คู่มือการให้บริการ
      • ขออนุมัติหลักการจัดซื้อจัดจ้าง
    • ระบบฐานข้อมูลรูปภาพ
    • ระบบฐานข้อมูลครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์
  • รู้จักเรา
    • วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าประสงค์
    • โครงสร้างองค์กร
    • ประวัติหน่วยงาน
      • ประวัติศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา
      • ประวัติศูนย์สร้างสรรค์เยาวชน (กระจ่าง บริรักษ์นิติเกษตร)
    • ตราสัญลักษณ์
    • เครื่องฉายดาว
      • เครื่องฉายดาว ZEISS Mark IV (มาร์ค โฟร์)
      • เครื่องฉายดาวระบบดิจิตอล
  • ติดต่อเรา
    • ติดต่อศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา
    • ติดต่อศูนย์สร้างสรรค์เยาวชน
  • หน้าแรก
  • ข่าว
    • ข่าวประชาสัมพันธ์
    • ข่าวกิจกรรม
    • ภาพข่าวกิจกรรม
  • ประกาศ
    • แผนการจัดซื้อจัดจ้าง
    • ประกาศจัดซื้อจัดจ้าง
    • ประกาศรับสมัครงาน
    • รางวัลที่ภาคภูมิใจ
    • ระเบียบ ข้อกำหนด และประกาศ
    • นโยบายการอนุรักษ์พลังงาน
  • บริการ
    • ท้องฟ้าจำลอง
      • ระบบแสดงที่นั่งการแสดงท้องฟ้าจำลอง
      • กำหนดการฉายภาพยนตร์เต็มโดม
      • ตารางรอบการแสดงท้องฟ้าจำลอง
    • นิทรรศการถาวร
    • นิทรรศการเสมือนจริง
    • ศูนย์บริการวิทยาศาสตร์สุขภาพ
    • ศูนย์สร้างสรรค์เยาวชน
    • กิจกรรมการศึกษา
      • ใบจองกิจกรรมการศึกษา
    • กิจกรรมและสือการเรียนรู้ออนไลน์
    • ข้อมูลวิชาการ
      • บทความวิชาการ
      • บทความวิชาการ (PDF)
      • สื่อการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
      • คู่มือสําหรับผู้สอนหรือผู้นํากิจกรรม
  • ระบบสารสนเทศ
    • ฐานข้อมูลโครงการประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สำหรับนักศึกษา กศน.
    • รายงานผลการดำเนินงาน
    • ข้อมูลเชิงสถิติการให้บริการ
    • เอกสารดาวน์โหลด
      • คู่มือการให้บริการ
      • ขออนุมัติหลักการจัดซื้อจัดจ้าง
    • ระบบฐานข้อมูลรูปภาพ
    • ระบบฐานข้อมูลครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์
  • รู้จักเรา
    • วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าประสงค์
    • โครงสร้างองค์กร
    • ประวัติหน่วยงาน
      • ประวัติศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา
      • ประวัติศูนย์สร้างสรรค์เยาวชน (กระจ่าง บริรักษ์นิติเกษตร)
    • ตราสัญลักษณ์
    • เครื่องฉายดาว
      • เครื่องฉายดาว ZEISS Mark IV (มาร์ค โฟร์)
      • เครื่องฉายดาวระบบดิจิตอล
  • ติดต่อเรา
    • ติดต่อศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา
    • ติดต่อศูนย์สร้างสรรค์เยาวชน
ประมวลภาพกิจกรรมวันวาเลนไทน์ 14 ก.พ. 66 “ชวนคู่จิ้น มาฟินดูดาว”

ประมวลภาพกิจกรรมวันวาเลนไทน์ 14 ก.พ. 66 “ชวนคู่จิ้น มาฟินดูดาว”

15 February 202316 February 2023 parani ting-in ภาพข่าวกิจกรรม 56

ประมวลภาพกิจกรรมวันวาเลนไทน์ 14 ก.พ. 66 “ชวนคู่จิ้น มาฟินดูดาว” ณ ท้องฟ้าจำลองกรุงเทพ ชมภาพ คลิก ภาพกิจกรรม

  • Facebook iconFacebook
  • Twitter iconTwitter
  • LINE iconLine

parani ting-in

ข่าวสาร กิจกรรม บทความและนิทรรศการถาวรที่น่าสนใจ

“Earth Hour” 1 ชั่วโมงลดโลกร้อน [26 March 2022 | 8:30 pm – 9.30 pm]

22 March 202222 March 2022 0.4K

ทุก ๆ ปี ในวันเสาร์สุดท้ายของเดือนมีนาคม เวลา 20.30 น. หลายกลุ่มคนทั่วทุกมุมโลกจะรวมตัวกันเคลื่อนไหวทำกิจกรรมเชิงสัญลักษณ์ เพื่อกระตุ้นความตระหนักรู้ในเรื่องของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่เรารู้จักในชื่อของ “Earth Hour” Earth Hour ก่อตั้งขึ้นเพื่อสนับสนุนการสร้างผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมในเชิงบวกผ่านพลังของฝูงชนของคนทั้งโลก เริ่มต้นในปี 2550 โดยองค์การกองทุนสัตว์ป่าโลกสากล หรือ กองทุนสัตว์ป่าโลก (World Wide Fund for Nature-WWF) ซึ่งเป็นองค์การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศ ยับยั้งการทำลายสิ่งแวดล้อม และสนับสนุนให้มนุษย์อยู่ร่วมกับธรรมชาติและการใช้พลังงานทดแทน ได้ร่วมมือกับพันธมิตรทำกิจกรรมเชิงสัญลักษณ์ ปิดไฟในซิดนีย์เพื่อสร้างความตระหนักเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ซึ่งเป็นหนึ่งในการเคลื่อนไหวระดับรากหญ้าที่ใหญ่ที่สุดในโลก ต่อมา Earth Hour ได้ถูกจัดขึ้นในวันเสาร์สุดท้ายของเดือนมีนาคมของทุกปี โดยปัจจุบันได้มีผู้เข้าร่วมในประเทศและดินแดนต่าง ๆ มากกว่า 190 แห่งทั่วโลก   Earth Hour ไม่ได้เป็นเพียงแค่การแสดงเชิงสัญลักษณ์ของการปิดไฟเท่านั้น แต่มันได้กลายเป็นตัวเร่ง การขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงทางกฎหมาย สำหรับผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมครั้งใหญ่ ที่เกิดจากพลังของประชาชนและการดำเนินการขับเคลื่อนร่วมกันของคนทั้งโลก ซึ่งปัจจุบันผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมได้เป็นปัญหาใหญ่ระดับโลก โดยเฉพาะปัญหาภาวะโลกร้อน วิกฤตสภาพภูมิอากาศได้ถือว่าเป็นหนึ่งในความท้าทายที่สุดที่มนุษยชาติเคยเผชิญมา มันส่งผลกระทบต่อทุกมุมโลกของเราตั้งแต่ขั้วโลก ภูเขา ป่าไม้ไปจนถึงมหาสมุทร ผู้คนต่างรับรู้ถึงผลกระทบอันร้ายแรงที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้           […]

นิทรรศการ Robot Club

4 February 202121 March 2022 1K

ห้อง Robot Club จัดแสดง ณ ชั้้น 4 อาคารธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (อาคาร 4) ให้บริการในรูปแบบกิจกรรมเกี่ยวกับเทคโนโลยีหุ่นยนต์กับการประยุกต์ใช้งานต่าง ๆ ได้เรียนรู้เกี่ยวกับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์พื้นฐานการต่อวงจรไฟฟ้าเบื้องต้น การต่อโครงสร้างหุ่นยนต์ การนำ Coding มาใช้ในการแก้ไขปัญหา จุดไฮไลต์ของห้อง ห้ามพลาด! หุ่นยนต์ unplugged coding หุ่นยนต์เก็บลูกปิงปอง Gesture Robot หุ่นยนต์เลียนแบบการเคลื่อนไหวของมนุษย์ Racing Robot หุ่นยนต์ควบคุมด้วย Bluetooth Sensor ในชีวิตประจำวัน ชุดต่อวงจรไฟฟ้าเบื้องต้น ชุดต่อโครงสร้างตามจินตนาการ Facebook iconFacebookTwitter iconTwitterLINE iconLine

กินทุเรียนอย่างไร ถึงจะพอดี ไม่อ้วน และปลอดภัย

กินทุเรียนอย่างไร ถึงจะพอดี ไม่อ้วน และปลอดภัย

18 May 20214 July 2022 0.2K

สาวกทุเรียน ข้อแนะนำ: หากมีทุเรียนตบท้ายมื้ออาหาร มื้ออาหารนั้นควรลดอาหารกลุ่มข้าว แป้ง ของหวาน และเครื่องดื่มที่ให้พลังงานสูง อย่างเช่น น้ำอัดลม และไม่ควรกินทุเรียนเกินครั้งละ 1-2 เม็ด และไม่ควรกินทุกวัน เพราะทุเรียนมีปริมาณน้ำตาลและคาร์โบไฮเดรตสูงมาก ทุเรียน 1 เม็ด (น้ำหนัก 40 กรัม) ให้พลังงาน 50 – 60 กิโลแคลอรี่ และเนื้อทุเรียน 1 กิโลกรัม อาจจะให้พลังงานมากถึง 1,350 แคลอรี่ โดยประมาณ ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 68 ของพลังงานที่ผู้ใหญ่ควรได้รับต่อวัน (2,000 แคลอรี่) นอกจากนั้น สาวกทุเรียนควรกินอาหารให้ครบ 5 หมู่ และออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอด้วย สหายแอลกอฮอล์ ข้อแนะนำ: ควรเลี่ยงการกินทุเรียนร่วมกับเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ กรณีที่ร่างกายได้รับพลังงานมากเกินไป ระดับน้ำตาลในเลือดจะสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว กระบวนการเผาผลาญก็จะเพิ่มขึ้นตาม ทำให้ร่างกายจำเป็นต้องใช้น้ำปริมาณมากขึ้น ส่งผลให้เกิดภาวะขาดน้ำ จนอาจจะเสี่ยงต่อการเสียชีวิตได้ ผู้ป่วยกลุ่มโรคไต เบาหวาน ความดันโลหิตสูง และหลอดเลือดหัวใจตีบตัน […]

นิทรรศการไดโนเสาร์ (Dinosaur exhibition)

15 December 201620 March 2023 4K

นิทรรศการไดโนเสาร์ เป็นนิทรรศการถาวร จัดแสดงที่ชั้น 2 อาคารธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แสดงเนื้อหาวิชาการเกี่ยวกับ การกำเนิดโลก กระบวนการภายในโลก วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต กำเนิดซากดึกดำบรรพ์ สิ่งมีชีวิตโดดเด่นในแต่ละยุค พฤติกรรมของไดโนเสาร์ การสำรวจไดโนเสาร์ในประเทศไทย การทำงานเพื่ออนุรักษ์ซากดึกดำบรรพ์ สัตว์และพืชร่วมยุคไดโนเสาร์ที่ยังมีชีวิต สิ่งมีชีวิตที่วิวัฒนาการตัวเองให้ดำรงชีวิตอยู่ได้จนถึงปัจจุบัน และผนังทางเดินแสดงภาพไดโนเสาร์ไทยทั้ง 12 ชนิด สถานที่จัดแสดง : ชั้น 2 อาคาร 4 ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา ท้องฟ้าจำลอง กรุงเทพฯ เปิดประตูสู่โลกล้านปี กับนิทรรศการไดโนเสาร์  ศึกษาและเรียนรู้ความเป็นมาของโลกเราในอดีต โซนที่ 1 : รู้จักโลก รู้จักตัวเองย้อนเวลากลับไปตั้งแต่ช่วงที่โลกถือกำเนิด เรียนรู้การเปลี่ยนแปลงของโลก และวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตในยุคสมัยต่าง ๆ โซนที่ 2 : โลกไดโนเสาร์เรียนรู้เกี่ยวกับยุคสมัยที่ไดโนเสาร์ครองโลก ได้แก่ ยุคไทรแอสซิก ยุคจูแรสซิก และยุคครีเทเชียส โซนที่ 3 : มหัศจรรย์ไดโนเสาร์ศึกษาข้อมูลความรู้เกี่ยวกับไดโนเสาร์แต่ละสายพันธุ์ แหล่งที่อยู่อาศัย สรีระ พฤติกรรม และการสูญพันธุ์ของไดโนเสาร์ โซนที่ […]

สัมผัสที่ปลายลิ้น แมลงวันรับรสได้อย่างไร

12 September 202212 September 2022 0.1K

คนเรามีอวัยวะเรียกว่า ลิ้น ที่มีต่อมรับรสของสารเคมีจากอาหารทำให้เรารับรสชาติ เปรี้ยว หวาน เค็ม ขมและอูมามิได้ โดยความสำคัญของการรับรู้ สามารถบอกได้ว่าอาหารแบบไหนกินได้แบบไหนกินไม่ได้ เพื่อป้องกันอันตรายจากอาหาร ซึ่งรสชาติจะถูกแปลสัญญาณการรับรู้เป็นชนิดของสารอาหาร เราจึงเลือกอาหารให้ตอบสนองต่อความต้องการและไม่ต้องการของร่างกายได้ ความสามารถนี้สัตว์ขาปล้องอย่างแมลงวันก็มีสัมผัสเช่นเดียวกับมนุษย์ ที่มีลิ้นเพื่อรับรส เพียงแต่ว่าแมลงวันมีตำแหน่งและลักษณะของลิ้นแตกต่างกั แมลงวันเป็นแมลงที่มีปีกคู่เดียว (Diptera) เป็นสัตว์ขาปล้อง (Phylum Arthropoda) คนส่วนใหญ่มักจะมองว่าเป็นสัตว์ที่สกปรก พบได้บริเวณที่มีซากพืช ซากสัตว์ หรือขยะที่เป็นเศษอาหารต่าง ๆ ซึ่งแมลงวันนั้นสามารถรับรสชาติได้เช่นเดียวกับมนุษย์ โดยมีประสาทสัมผัสรับรส (Chemoreceptor) ทำให้แมลงวันรู้รสชาติของอาหาร แต่ว่าแมลงวันมีเส้นขน (Gustatory sensilla) ที่มีหน้าที่ในการรับรส ซึ่งตรงบริเวณปลายขนจะมีลักษณะเป็นรูกลวง เพื่อรับรสอาหารที่เป็นของเหลว ซึ่งภายในเส้นขนก็จะมีเซลล์ประสาทที่เป็นตัวรับสัญญาณ (Receptors) จากตัวกระตุ้นภายนอก ในที่นี้คืออาหาร และส่วนใหญ่จะพบเส้นขนบริเวณต่อไปนี้ ขา (Legs) ขา (Legs) เมื่อแมลงวันเจออาหาร มันจะบินไปเกาะและมักจะเดินไปมารอบ ๆ อาหาร โดยขาที่เกาะอยู่ของมันนั้นมีขนนี้ขึ้นอยู่ ซึ่งเป็นอวัยวะแรกที่ได้สัมผัสอาหารและรับรู้รสชาติ ซึ่งมันจะตรวจสอบก่อนที่จะกิน ว่าอาหารเหล่านั้นสามารถกินได้ไหม หรือรสชาติเป็นที่พอใจที่จะกินไหม ริมฝีปาก (Labellum) […]

ข่าว

ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวกิจกรรม
ภาพข่าวกิจกรรม

ประกาศ

แผนการจัดซื้อจัดจ้าง
ประกาศจัดซื้อจัดจ้าง
ประกาศรับสมัครงาน
รางวัลที่ภาคภูมิใจ
นโยบายการอนุรักษ์พลังงาน

บริการ

ท้องฟ้าจำลอง
นิทรรศการถาวร
นิทรรศการเสมือนจริง
ศูนย์บริการวิทยาศาสตร์สุขภาพ
ศูนย์สร้างสรรค์เยาวชน
กิจกรรมการศึกษา
บทความวิชาการ

ระบบสารสนเทศ

ฐานข้อมูลโครงการประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สำหรับนักศึกษา กศน.
รายงานผลการดำเนินงานของศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา
ระบบฐานข้อมูลรูปภาพ
ระบบฐานข้อมูลครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์

รู้จักเรา

วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าประสงค์
โครงสร้างองค์กร
ประวัติหน่วยงาน
ตราสัญลักษณ์
เครื่องฉายดาว
คำถามที่พบบ่อย (FAQ)

ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา 928 ถนนสุขุมวิท เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ : 0 2392 1773 โทรสาร : 0 2392 0508, 0 2391 0522 E - mail : nsce@sci-educ.nfe.go.th