Skip to content
ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา

ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา

  • หน้าแรก
  • ข่าว
    • ข่าวประชาสัมพันธ์
    • ข่าวกิจกรรม
    • ภาพข่าวกิจกรรม
  • ประกาศ
    • แผนการจัดซื้อจัดจ้าง
    • ประกาศจัดซื้อจัดจ้าง
    • ประกาศรับสมัครงาน
    • รางวัลที่ภาคภูมิใจ
    • ระเบียบ ข้อกำหนด และประกาศ
    • นโยบายการอนุรักษ์พลังงาน
  • บริการ
    • ท้องฟ้าจำลอง
      • ระบบแสดงที่นั่งการแสดงท้องฟ้าจำลอง
      • กำหนดการฉายภาพยนตร์เต็มโดม
      • ตารางรอบการแสดงท้องฟ้าจำลอง
    • นิทรรศการถาวร
    • นิทรรศการเสมือนจริง
    • ศูนย์บริการวิทยาศาสตร์สุขภาพ
    • ศูนย์สร้างสรรค์เยาวชน
    • กิจกรรมการศึกษา
      • ใบจองกิจกรรมการศึกษา
    • กิจกรรมและสือการเรียนรู้ออนไลน์
    • ข้อมูลวิชาการ
      • บทความวิชาการ
      • บทความวิชาการ (PDF)
      • สื่อการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
      • คู่มือสําหรับผู้สอนหรือผู้นํากิจกรรม
  • ระบบสารสนเทศ
    • ฐานข้อมูลโครงการประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สำหรับนักศึกษา กศน.
    • รายงานผลการดำเนินงาน
    • ข้อมูลเชิงสถิติการให้บริการ
    • เอกสารดาวน์โหลด
      • คู่มือการให้บริการ
      • ขออนุมัติหลักการจัดซื้อจัดจ้าง
    • ระบบฐานข้อมูลรูปภาพ
    • ระบบฐานข้อมูลครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์
  • รู้จักเรา
    • วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าประสงค์
    • โครงสร้างองค์กร
    • ประวัติหน่วยงาน
      • ประวัติศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา
      • ประวัติศูนย์สร้างสรรค์เยาวชน (กระจ่าง บริรักษ์นิติเกษตร)
    • ตราสัญลักษณ์
    • เครื่องฉายดาว
      • เครื่องฉายดาว ZEISS Mark IV (มาร์ค โฟร์)
      • เครื่องฉายดาวระบบดิจิตอล
  • ติดต่อเรา
    • ติดต่อศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา
    • ติดต่อศูนย์สร้างสรรค์เยาวชน
  • หน้าแรก
  • ข่าว
    • ข่าวประชาสัมพันธ์
    • ข่าวกิจกรรม
    • ภาพข่าวกิจกรรม
  • ประกาศ
    • แผนการจัดซื้อจัดจ้าง
    • ประกาศจัดซื้อจัดจ้าง
    • ประกาศรับสมัครงาน
    • รางวัลที่ภาคภูมิใจ
    • ระเบียบ ข้อกำหนด และประกาศ
    • นโยบายการอนุรักษ์พลังงาน
  • บริการ
    • ท้องฟ้าจำลอง
      • ระบบแสดงที่นั่งการแสดงท้องฟ้าจำลอง
      • กำหนดการฉายภาพยนตร์เต็มโดม
      • ตารางรอบการแสดงท้องฟ้าจำลอง
    • นิทรรศการถาวร
    • นิทรรศการเสมือนจริง
    • ศูนย์บริการวิทยาศาสตร์สุขภาพ
    • ศูนย์สร้างสรรค์เยาวชน
    • กิจกรรมการศึกษา
      • ใบจองกิจกรรมการศึกษา
    • กิจกรรมและสือการเรียนรู้ออนไลน์
    • ข้อมูลวิชาการ
      • บทความวิชาการ
      • บทความวิชาการ (PDF)
      • สื่อการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
      • คู่มือสําหรับผู้สอนหรือผู้นํากิจกรรม
  • ระบบสารสนเทศ
    • ฐานข้อมูลโครงการประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สำหรับนักศึกษา กศน.
    • รายงานผลการดำเนินงาน
    • ข้อมูลเชิงสถิติการให้บริการ
    • เอกสารดาวน์โหลด
      • คู่มือการให้บริการ
      • ขออนุมัติหลักการจัดซื้อจัดจ้าง
    • ระบบฐานข้อมูลรูปภาพ
    • ระบบฐานข้อมูลครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์
  • รู้จักเรา
    • วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าประสงค์
    • โครงสร้างองค์กร
    • ประวัติหน่วยงาน
      • ประวัติศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา
      • ประวัติศูนย์สร้างสรรค์เยาวชน (กระจ่าง บริรักษ์นิติเกษตร)
    • ตราสัญลักษณ์
    • เครื่องฉายดาว
      • เครื่องฉายดาว ZEISS Mark IV (มาร์ค โฟร์)
      • เครื่องฉายดาวระบบดิจิตอล
  • ติดต่อเรา
    • ติดต่อศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา
    • ติดต่อศูนย์สร้างสรรค์เยาวชน
ระเบียบ ข้อกำหนด และประกาศ

ระเบียบ ข้อกำหนด และประกาศ

17 March 202317 March 2023 superadmin Uncategorized 44
ระเบียบ ข้อกำหนด และประกาศ
ข้อกำหนดการใช้สถานที่ของศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา
  • Facebook iconFacebook
  • Twitter iconTwitter
  • LINE iconLine

superadmin

ข่าวสาร กิจกรรม บทความและนิทรรศการถาวรที่น่าสนใจ

Blockchain คืออะไร?

28 July 202128 July 2021 9K

ในบทความก่อนหน้านี้ได้กล่าวถึง Cryptocurrency ซึ่งใช้เทคโนโลยี Blockchain ในการจัดเก็บ และยืนยันการทำธุรกรรมต่าง ๆ ในวันนี้เราจะมาพูดถึง Blockchain ว่ามันคืออะไรกัน Blockchain เป็นนวัตกรรมที่เกิดขึ้นมาและสร้างความเปลี่ยนแปลงในอุตสาหกรรมโลกเป็นอย่างมาก มันถูกสร้างขึ้นในปี 2008 โดยคนที่ใช้นามแฝงว่า Satoshi Nakamoto ซึ่งจนถึงทุกวันนี้เราก็ยังไม่ทราบแน่ชัดว่า Satoshi Nakamoto เป็นใครและปัจจุบันกำลังทำอะไรอยู่ เทคโนโลยี Blockchain หากอธิบายให้เห็นภาพง่าย ๆ ลองนึกภาพว่ามันเป็นเสมือนโซ่ที่สร้างขึ้นเพื่อกระจายข้อมูลเก็บไว้ในชิ้นส่วนโซ่ที่ต่อกัน ข้อมูลเหล่านั้นไม่สามารถถูกเปลี่ยนแปลงได้เรียกได้ว่า Blockchain โดยเริ่มแรกถูกสร้างขึ้นมาเพื่อสร้างสกุลเงินดิจิทัล (Digital Currency) เช่น Bitcoin อย่างไรก็ตามในตอนนี้เทคโนโลยี Blockchain ไม่ได้ถูกสร้างขึ้นเพื่อรองรับสกุลเงินดิจิทัลเพียงอย่างเดียวเท่านั้น ณ ปัจจุบันวงการอุตสาหกรรมอื่น ๆ ได้นำศักยภาพของเทคโนโลยี Blockchain ไปใช้ประโยชน์เพื่ออำนวยความสะดวกให้กับธุรกิจของตนอย่างแพร่หลายมากยิ่งขึ้น ข้อมูลที่อยู่บน Blockchain ทุกคนสามารถเข้าถึงได้ และฐานข้อมูลของ Blockchain ไม่ได้ถูกเก็บไว้ในที่ใดที่หนึ่งเพียงแห่งเดียว หมายความว่าข้อมูลที่ถูกบันทึกบน Blockchain จะถูกเปิดเผยเป็นสาธารณะและสามารถถูกเข้ามาตรวจสอบได้ ข้อมูลเหล่านี้ไม่มีส่วนกลางเข้ามาทำหน้าที่ควบคุมและปกป้อง ดังนั้นแฮ็กเกอร์จะไม่สามารถเข้ามาแฮ็กข้อมูลนี้ได้เนื่องจากไม่มีจุดศูนย์กลางให้โจมตี นั่นหมายความว่าหากพวกเขาต้องการแฮ็กเพื่อเปลี่ยนแปลงข้อมูลนั้น พวกเขาต้องโจมตีฐานข้อมูลที่ถูกกระจายออกไปทั้งหมดในเวลาพร้อมกัน […]

ทำไมต้องใช้หินแกรนิต

ทำไมต้องใช้หินแกรนิต

11 September 202111 September 2021 10K

เคยสังเกตแผ่นหินขนาดใหญ่ที่นำมาสลักเป็นป้ายชื่อประดับหน้าอาคาร แผ่นหินปูพื้น/ ผนัง หรือปูโต๊ะในห้องครัว หรือแม้กระทั่งหินแกะสลักเป็นรูปทรงต่าง ๆ ที่มักพบประดับตามสวนสาธารณะ ทราบหรือไม่ว่านั่นคือ หินแกรนิต หินแกรนิต (granite) คือ หินอัคนีชนิดหนึ่ง เกิดจากแมกมาเย็นตัวลงอย่างช้า ๆ จึงทำให้แร่ที่เป็นส่วนประกอบในแมกมา มีเวลาจับตัวกันเป็นผลึกขนาดใหญ่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า หินแกรนิต ประกอบด้วยแร่หลัก 3 ชนิด นั่นคือแร่ควอตซ์ (quartz) แร่เฟลด์สปาร์ (feldspar) และแร่สีเข้มที่มีประกอบเป็นส่วนน้อย เช่น แร่ฮอร์นเบลนด์ (hornblend) แร่ไพรอกซีน (pyroxene) เป็นต้น หินแกรนิตในธรรมชาติมักมีสีอ่อน ส่วนจะมีสีใดนั้นขึ้นอยู่กับปริมาณและแร่ธาตุที่เข้าไปปะปนอยู่ในหิน เช่น แร่ควอตซ์ทำให้หินแกรนิตเป็นสีขาวหรือเทา แร่เฟลด์สปาร์ทำให้หินมีสีแดงหรือสีชมพู ส่วนแร่สีเข้มทำให้หินแกรนิตมีสีเข้มของสีเขียว สีน้ำตาลหรือสีดำ ของแร่แต่ละชนิดปะปน ทำให้เกิดลวดลายตามธรรมชาติที่เป็นเอกลักษณ์ การนำแกรนิตไปใช้ประโยชน์ ด้วยคุณสมบัติของแร่ประกอบหินแกรนิตแต่ละชนิด มีความทนทานต่อการผุกร่อนตามธรรมชาติหรือการขูดขีด เนื่องจาก แร่ควอตซ์ (quartz) มีความแข็งระดับ 7 ตามโมห์สเกล  แร่เฟลด์สปาร์ (feldspar) มีความแข็งระดับ 6 ตามโมห์สเกล […]

แมลงวัน…ภัยร้ายใกล้ตัวคุณ

28 October 202128 October 2021 4K

แมลงดำรงชีวิตอยู่ในธรรมชาติ มีทั้งที่เป็นประโยชน์และเป็นโทษต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม หากกล่าวถึงโทษของแมลงนอกจากพิษที่เป็นอันตรายต่อตัวเราแล้ว การที่แมลงมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม เช่น การหาอาหารเพื่อดำรงชีวิต แมลงหลาย ๆ ชนิดมีความเกี่ยวข้องกับมนุษย์ นอกจากยุงที่เราคุ้นเคยกันดีแล้แมลงวันเป็นอีกชนิดหนึ่งที่เราพบเห็นได้ในชีวิตประจำวันและเป็นที่ทราบกันดีว่าสามารถก่อโรคในมนุษย์ได้เช่นกัน ในประเทศไทยพบแมลงวันเกี่ยวข้องกับมนุษย์และสัตว์อยู่ 4 ชนิดด้วยกัน คือ แมลงวันบ้าน (House Flies) แมลงวันหัวเขียว (Blow Flies) แมลงวันหลังลาย (Flesh Flies) และแมลงวันดูดเลือด (Stomoxys spp.) โดยทั่วไปเรามักจะพบและคุ้นเคยกับแมลงวันบ้านมากที่สุด นั่นเพราะมันมีมากถึงร้อยละ 83 ของแมลงวันทั้งหมด มารู้จักแมลงวันบ้านกัน… แมลงวันบ้าน เป็นแมลงขนาดเล็ก มีปากแบบซับดูด (Sponging type) ลำตัวมีสีเทา ขนาดประมาณ 6-9 มิลลิเมตร ตามีสีน้ำตาลปนแดง ลำตัวมีขนสีเทาดำขนาดเล็กจำนวนมาก ปีก 1 คู่ เป็นเยื่อใสมีโครงร่างยึดเป็นร่างแหสีดำ แมลงวันบ้านจะออกหากินในช่วงเวลากลางวันไปยังแหล่งอาหาร เช่น ของสด สิ่งบูดเน่าต่าง ๆ เศษอาหาร เป็นต้น  ส่วนในเวลากลางคืนจะรวมกลุ่มกันอยู่บนกิ่งไม้หรือพุ่มไม้ แมลงวันนำโรคมาได้อย่างไร…เราเคยสังเกตเห็นแมลงวันบินมาตอมอาหารและถูขาหน้าบ้างหรือไม่? แมลงวันจะใช้ขาสำหรับดมกลิ่นรสอาหาร แต่เนื่องจากลำตัวของแมลงวันเต็มไปด้วยขน และลิ้นที่ใช้กินอาหารมีกาวเหนียว […]

เส้นเหลืองแห่งความปลอดภัย

เส้นเหลืองแห่งความปลอดภัย

19 April 202119 April 2021 0.7K

ปัจจุบันนี้การโดยสารด้วยรถไฟฟ้าเป็นส่วนหนึ่งในชีวิตที่เร่งรีบของคนเมืองหลวงแล้ว เพราะการใช้บริการสะดวก เดินทางได้รวดเร็ว เส้นทางครอบคลุมเกือบทั่วทั้งกรุงเทพมหานคร และที่สำคัญไม่ต้องพบเจอกับปัญหารถติด ซึ่งรถไฟฟ้าที่ให้บริการนั้นมีทั้งแบบรถไฟลอยฟ้าที่แล่นบนรางเหนือถนนปกติ และรถไฟฟ้าใต้ดินที่แล่นอยู่ภายในอุโมงค์ใต้ดิน แต่ว่าเราเคยสังเกตที่ชานชาลารถไฟฟ้าทั้งสองประเภทนี้หรือไม่ว่ามันมีสิ่งหนึ่งที่เหมือนกันคือ เส้นเหลือง เส้นเหลืองบนชานชาลานับเป็นเส้นแบ่งความปลอดภัยของผู้โดยสาร จะวางแนวติดกับพื้นที่ที่รถไฟฟ้าแล่นเข้าสู่สถานี ซึ่งจะมีเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย 2 คน อยู่บริเวณด้านหัวและท้ายขบวน คอยควบคุมไม่ให้เราเข้าไปในเส้นเหลือง หากเราเผลอเหยียบหรือล้ำเข้าไป เสียงนกหวีดจากเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย จะดังขึ้นเตือนทันที เราต้องรีบถอยห่างออกมาอยู่หลังเส้นเหลืองเท่านั้น เหตุที่เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยต้องเตือนเรานั้น เพื่อความปลอดภัยของเราเอง เพราะเมื่อขบวนรถไฟฟ้าวิ่งผ่านมา อากาศระหว่างขบวนรถกับบริเวณที่เรายืนอยู่จะเคลื่อนที่เร็ว ทำให้มีความดันอากาศต่ำ อากาศรอบ ๆ จะเคลื่อนที่เข้าไปแทนที่ ซึ่งการเคลื่อนที่ของอากาศนี้สามารถดูดเราให้ตกยังรางรถไฟฟ้าได้ การไหลของอากาศในลักษณะนี้เป็นเช่นเดียวกับลูกเทนนิสที่เคลื่อนที่แหวกผ่านอากาศ ซึ่งจะมีอากาศจำนวนหนึ่งห่อหุ้มลูกเทนนิสไว้ และมีแรงดึงดูดของอากาศอยู่ด้านข้าง ดูดให้เข้าหาลูกเทนนิสนั่นเอง  ดังนั้น ทุกคนคงเข้าใจแล้วว่าทำไมต้องอยู่หลังเส้นเหลือง อย่าลืมอยู่หลังเส้นเหลือง เพื่อความปลอดภัยในการเดินทางของตัวเอง เรียบเรียงณัฐวุฒิ  พุ่มดอกไม้ ภาพประกอบพัทธนันท์ ประดิษฐ์นันกุล อ้างอิงข้อปฏิบัติและข้อห้ามเมื่ออยู่ในระบบรถไฟฟ้าบีทีเอสรปภ. เก่งฟิสิกส์ Facebook iconFacebookTwitter iconTwitterLINE iconLine

แสงแดดภัยร้ายใกล้ตัวคุณ

12 July 202112 July 2021 2K

ประเทศไทยเป็นประเทศในเขตร้อนที่มีอากาศร้อนมากโดยเฉพาะในหน้าร้อน แล้วอย่างนี้เราจําเป็นจะต้องใส่เสื้อแขนยาว กางร่ม หลบแดด หรือทาครีมกันแดดหรือไม่ แล้วถ้าเราอยู่ในร่มยังจําเป็นต้องทาครีมกันแดดไหม แล้วถ้าเราไม่ทาครีมกันแดด หรือหลบแดดจะมีผลเสียอะไรหรือไม่บทความนี้มีคําตอบไปอ่านกันเลย แสงแดดคืออะไร แสงแดดประกอบด้วยรังสีและแสงหลายชนิด ที่แตกต่างกันตามความยาวคลื่น โดยแบ่งเป็น แสงอินฟราเรด (Infrared) หรือแสงที่ให้ความร้อน มีปริมาณ 50% ของแสงแดดทั้งหมด และมีพลังงานต่ำกว่าแสงที่ให้ความสว่าง ดังนั้นจึงมีพลังงานต่ำที่สุด โดย Infrared A เป็นคลื่นแสงที่ทําให้เกิดผิวแก่ก่อนวัย (Photoaging) ย่อยสลายคอลลาเจน (Collagen breakdown) และเกิดรอยเหี่ยวย่นของผิวหนัง เพราะสามารถกระตุ้นให้เกิดอนุมูลอิสระได้ แต่ต้องใช้ปริมาณสูงมาก แสงที่มองเห็น (Visible light) มีปริมาณ 45% ของแสงแดดทั้งหมด มีพลังงานต่ำ แต่ถ้าได้รับเป็นเวลานานก็ทําให้ผิวคล้ำเสีย กระตุ้นให้ฝ้าเข้มขึ้น หรือผิวเสื่อมจากแดดได้ เนื่องจากสามารถกระตุ้นให้เกิดอนุมูลอิสระ แสงที่มองไม่เห็น (Invisible Light) มีปริมาณ 5% ของแสงแดดทั้งหมด มีพลังงานสูง และเป็นสาเหตุสําคัญของผิวไหม้แดง ผิวคล้ำมะเร็งผิวหนัง และผิวชราจากแดด เช่น อัลตราไวโอเลต (Ultraviolet […]

ข่าว

ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวกิจกรรม
ภาพข่าวกิจกรรม

ประกาศ

แผนการจัดซื้อจัดจ้าง
ประกาศจัดซื้อจัดจ้าง
ประกาศรับสมัครงาน
รางวัลที่ภาคภูมิใจ
นโยบายการอนุรักษ์พลังงาน

บริการ

ท้องฟ้าจำลอง
นิทรรศการถาวร
นิทรรศการเสมือนจริง
ศูนย์บริการวิทยาศาสตร์สุขภาพ
ศูนย์สร้างสรรค์เยาวชน
กิจกรรมการศึกษา
บทความวิชาการ

ระบบสารสนเทศ

ฐานข้อมูลโครงการประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สำหรับนักศึกษา กศน.
รายงานผลการดำเนินงานของศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา
ระบบฐานข้อมูลรูปภาพ
ระบบฐานข้อมูลครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์

รู้จักเรา

วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าประสงค์
โครงสร้างองค์กร
ประวัติหน่วยงาน
ตราสัญลักษณ์
เครื่องฉายดาว
คำถามที่พบบ่อย (FAQ)

ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา 928 ถนนสุขุมวิท เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ : 0 2392 1773 โทรสาร : 0 2392 0508, 0 2391 0522 E - mail : nsce@sci-educ.nfe.go.th