Skip to content
ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา

ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา

  • หน้าแรก
  • ข่าว
    • ข่าวประชาสัมพันธ์
    • ข่าวกิจกรรม
    • ภาพข่าวกิจกรรม
  • ประกาศ
    • แผนการจัดซื้อจัดจ้าง
    • ประกาศจัดซื้อจัดจ้าง
    • ประกาศรับสมัครงาน
    • รางวัลที่ภาคภูมิใจ
    • ระเบียบ ข้อกำหนด และประกาศ
    • นโยบายการอนุรักษ์พลังงาน
  • บริการ
    • ท้องฟ้าจำลอง
      • ระบบแสดงที่นั่งการแสดงท้องฟ้าจำลอง
      • กำหนดการฉายภาพยนตร์เต็มโดม
      • ตารางรอบการแสดงท้องฟ้าจำลอง
    • นิทรรศการถาวร
    • นิทรรศการเสมือนจริง
    • ศูนย์บริการวิทยาศาสตร์สุขภาพ
    • ศูนย์สร้างสรรค์เยาวชน
    • กิจกรรมการศึกษา
      • ใบจองกิจกรรมการศึกษา
    • กิจกรรมและสือการเรียนรู้ออนไลน์
    • ข้อมูลวิชาการ
      • บทความวิชาการ
      • บทความวิชาการ (PDF)
      • สื่อการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
      • คู่มือสําหรับผู้สอนหรือผู้นํากิจกรรม
  • ระบบสารสนเทศ
    • ฐานข้อมูลโครงการประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สำหรับนักศึกษา กศน.
    • รายงานผลการดำเนินงาน
    • ข้อมูลเชิงสถิติการให้บริการ
    • เอกสารดาวน์โหลด
      • คู่มือการให้บริการ
      • ขออนุมัติหลักการจัดซื้อจัดจ้าง
    • ระบบฐานข้อมูลรูปภาพ
    • ระบบฐานข้อมูลครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์
    • แบบวัดการรับรู้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก (EIT)
  • รู้จักเรา
    • วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าประสงค์
    • โครงสร้างองค์กร
    • ประวัติหน่วยงาน
      • ประวัติศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา
      • ประวัติศูนย์สร้างสรรค์เยาวชน (กระจ่าง บริรักษ์นิติเกษตร)
    • ตราสัญลักษณ์
    • เครื่องฉายดาว
      • เครื่องฉายดาว ZEISS Mark IV (มาร์ค โฟร์)
      • เครื่องฉายดาวระบบดิจิตอล
  • ติดต่อเรา
    • ติดต่อศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา
    • ติดต่อศูนย์สร้างสรรค์เยาวชน
  • หน้าแรก
  • ข่าว
    • ข่าวประชาสัมพันธ์
    • ข่าวกิจกรรม
    • ภาพข่าวกิจกรรม
  • ประกาศ
    • แผนการจัดซื้อจัดจ้าง
    • ประกาศจัดซื้อจัดจ้าง
    • ประกาศรับสมัครงาน
    • รางวัลที่ภาคภูมิใจ
    • ระเบียบ ข้อกำหนด และประกาศ
    • นโยบายการอนุรักษ์พลังงาน
  • บริการ
    • ท้องฟ้าจำลอง
      • ระบบแสดงที่นั่งการแสดงท้องฟ้าจำลอง
      • กำหนดการฉายภาพยนตร์เต็มโดม
      • ตารางรอบการแสดงท้องฟ้าจำลอง
    • นิทรรศการถาวร
    • นิทรรศการเสมือนจริง
    • ศูนย์บริการวิทยาศาสตร์สุขภาพ
    • ศูนย์สร้างสรรค์เยาวชน
    • กิจกรรมการศึกษา
      • ใบจองกิจกรรมการศึกษา
    • กิจกรรมและสือการเรียนรู้ออนไลน์
    • ข้อมูลวิชาการ
      • บทความวิชาการ
      • บทความวิชาการ (PDF)
      • สื่อการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
      • คู่มือสําหรับผู้สอนหรือผู้นํากิจกรรม
  • ระบบสารสนเทศ
    • ฐานข้อมูลโครงการประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สำหรับนักศึกษา กศน.
    • รายงานผลการดำเนินงาน
    • ข้อมูลเชิงสถิติการให้บริการ
    • เอกสารดาวน์โหลด
      • คู่มือการให้บริการ
      • ขออนุมัติหลักการจัดซื้อจัดจ้าง
    • ระบบฐานข้อมูลรูปภาพ
    • ระบบฐานข้อมูลครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์
    • แบบวัดการรับรู้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก (EIT)
  • รู้จักเรา
    • วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าประสงค์
    • โครงสร้างองค์กร
    • ประวัติหน่วยงาน
      • ประวัติศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา
      • ประวัติศูนย์สร้างสรรค์เยาวชน (กระจ่าง บริรักษ์นิติเกษตร)
    • ตราสัญลักษณ์
    • เครื่องฉายดาว
      • เครื่องฉายดาว ZEISS Mark IV (มาร์ค โฟร์)
      • เครื่องฉายดาวระบบดิจิตอล
  • ติดต่อเรา
    • ติดต่อศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา
    • ติดต่อศูนย์สร้างสรรค์เยาวชน
โครงงาน​ธรรมชาติ​ 2566​

โครงงาน​ธรรมชาติ​ 2566​

25 May 202325 May 2023 superadmin Uncategorized 7
  • Facebook iconFacebook
  • Twitter iconTwitter
  • LINE iconLine

superadmin

ข่าวสาร กิจกรรม บทความและนิทรรศการถาวรที่น่าสนใจ

กิจกรรมการประกวดแข่งขัน “วิทยาศาสตร์ในภูมิปัญญาไทย”

2 April 20231 May 2023 0.6K

การประกวดแข่งขัน “วิทยาศาสตร์ในภูมิปัญญาไทย” เชิญชวนผู้ที่สนใจร่วมส่งผลงานเข้าประกวดแข่งขัน “วิทยาศาสตร์ในภูมิปัญญาไทย” ประเภท สิ่งประดิษฐ์เพื่อช่วยเสริมคุณภาพชีวิตสำหรับผู้สูงอายุ โครงการกิจกรรมส่งเสริมความรู้ด้านวิทยาศาสตร์สำหรับผู้สูงวัย “แฮปปี้…สูงวัย” ประจำปีงบประมาณ 2566  โดยสามารถกรอก ใบสมัครลงทะเบียนผ่านระบบออนไลน์ และส่งหลักฐานการสมัครได้ตั้งแต่วันนี้ – 9 มิถุนายน 2566 รายละเอียดโครงการ : หลักเกณฑ์การประกวด  หรือ สแกน QR Code ในรูปภาพเพื่อดูรายละเอียดและสมัครได้เลยสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ 02-3910544, 02-3920508 และ 061-8793919 (อ.เอส) , 0852609401 (อ.เบนซ์) Facebook iconFacebookTwitter iconTwitterLINE iconLine

“เช็คลิสต์” หนึ่งในเครื่องมือสำคัญที่นำพาให้นักบินอะพอลโล 13 กลับบ้านได้

28 October 202129 October 2021 0.8K

นับเป็นความสำเร็จที่เกิดขึ้นในภารกิจที่ล้มเหลวของอะพอลโล 13 ที่สามารถนำนักบินอวกาศทั้งสามคนอย่าง เจมส์ โลเวลล์ (James Lovell) จอห์น สไวเกิร์ต (John Swigert) และเฟรด ไฮส์ (Fred Haise) กลับมาสู่โลกได้ ในวันที่ 17 เมษายน 1970 แม้ว่ายานอะพอลโล 13 จะมีภารกิจหลัก คือส่งมนุษย์ไปเยือนดวงจันทร์และเก็บข้อมูลตัวอย่างกลับมาศึกษาอย่างปลอดภัย แต่ระหว่างการเดินทาง ถังออกซิเจนบนยานได้ระเบิดขึ้น ทำให้ยานส่วนหนึ่งเกิดความเสียหาย จึงต้องยุติภารกิจและเปลี่ยนเป็นภารกิจกู้ชีพนักบินแทน โดยใช้ยานลงจอดดวงจันทร์ (Lunar Module) ในการนำนักบินกลับสู่โลก หนึ่งในเครื่องมือที่สำคัญและถูกใช้ในเทคโนโลยีอวกาศที่ทำให้นักบินกลับสู่โลกได้สำเร็จ นั่นก็คือ เช็คลิสต์ (checklist) โดยปกติแล้วในชีวิตประจำวันของเรา เมื่อต้องการเดินทางไกลด้วยรถยนต์จะต้องตรวจสอบรถยนต์ตามเช็คลิสต์ไปทีละขั้นตอนว่าอยู่ในสภาพพร้อมต่อการใช้งานหรือไม่ เช็คลิสต์ของนักบินอวกาศก็เช่นกัน ต้องมีการตรวจสอบและตั้งค่าไปตามลำดับขั้นตอน จากในภาพเช็คลิสต์มีขั้นตอน (procedure) การแปลงจากคอมมานด์โมดูล (Command Module) ไปสู่ยานลงจอดดวงจันทร์ เพื่อปรับระบบอ้างอิง (Lunar Module’s reference system) การตรวจสอบและตั้งค่าตามลำดับขั้นตอนเพื่อใช้ยานในการนำนักบินกลับสู่โลก สิ่งที่สำคัญของเช็คลิสต์ คือจะต้องมีความรอบคอบในการใช้งานเป็นอย่างสูง อีกทั้งการใส่ค่าตัวเลขต่าง ๆ […]

“ทางเลือกสุขภาพ” ฉลากสำหรับคนรักสุขภาพ

31 August 202131 August 2021 1K

การใช้ชีวิตของคนในยุคปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก จากความเร่งรีบในชีวิตประจำวัน ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่ทำให้เราใช้ชีวิตที่สะดวกสบายมากยิ่งขึ้น คนส่วนใหญ่จึงเลือกซื้อและบริโภคอาหารที่เป็นผลิตภัณฑ์สำเร็จรูป นั่นก็เป็นเพราะว่าเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีความสะดวกและรวดเร็วในการบริโภค อีกทั้งปัจจุบันสามารถหาซื้อได้ง่ายจากร้านสะดวกซื้อ แต่ทราบหรือไม่ว่าอาหารเหล่านี้มีน้ำตาล ไขมัน และโซเดียมที่สูง ทำให้ร่างกายรับพลังงานจากอาหารมากเกินไป เกิดเป็นโรคอ้วน (obesity) และโรคที่เป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง หรือเรียกว่า โรค NCD (non-communicable diseases) เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจและหลอดเลือด มะเร็ง ภาวะไตวายเรื้อรัง เป็นต้น สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จึงได้ผลักดัน ฉลากอาหารที่ทำให้เราสามารถอ่านแล้วเข้าใจได้ง่ายว่า ผลิตภัณฑ์ที่เรากำลังจะเลือกซื้อมีปริมาณของสารอาหารที่เหมาะสมกับโภชนาการในชีวิตประจำวันหรือไม่ เมื่อเทียบกับผลิตภัณฑ์ชนิดเดียวกันในท้องตลาด โดยกำหนดเป็นสัญลักษณ์ทางเลือกสุขภาพ (Healthier Choice) เพื่อเป็นทางเลือกให้คนไทยเริ่มปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินให้ถูกต้องตามหลักโภชนาการ ลดหวาน มัน เค็ม และทำให้ผู้ผลิตให้ความสำคัญในการผลิตอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการที่เหมาะสมสำหรับผู้บริโภค ผลิตภัณฑ์อาหารที่ได้รับสัญลักษณ์นี้ต้องมีปริมาณน้ำตาล ไขมัน และโซเดียมผ่านตามเกณฑ์ที่กำหนดของอาหารแต่ละประเภท ซึ่งปัจจุบันมีอาหาร 11 ประเภทที่มีการติดสัญลักษณ์ทางเลือกสุขภาพนี้ คือ กลุ่มอาหารมื้อหลัก หรืออาหารที่บรรจุในภาชนะพร้อมบริโภคเป็นมื้ออาหารหลัก กลุ่มเครื่องดื่ม กลุ่มเครื่องปรุงรส กลุ่มผลิตภัณฑ์นม กลุ่มอาหารกึ่งสำเร็จรูป […]

เมลาโทนิน กินได้นอนหลับดีจริงหรือ

24 August 202124 August 2021 5K

ปัจจุบันด้วยภาวะโรคระบาด ภาวะเศรษฐกิจต่าง ๆ ส่งผลให้คนมีความเครียดจนก่อเกิดอาการนอนไม่หลับ หลับยาก หลับๆ ตื่นๆ พักผ่อนไม่เพียงพอ จนกลายเป็นปัญหาสุขภาพส่งผลกระทบต่อการดำรงชีวิต บางคนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมยังไม่สามารถช่วยให้นอนหลับได้จึงเลือกที่จะใช้ตัวช่วยโดยการรับประทานยาหรือฮอร์โมนทดแทนเพื่อช่วยบรรเทาปัญหานอนไม่หลับ ฮอร์โมนนั้นคือเมลาโทนิน เมลาโทนินคืออะไรนะ ? เมลาโทนิน (Melatonin) เป็นฮอร์โมนที่สังเคราะห์มาจากกรดอะมิโนทริปโตเฟน (Tryptophan) ที่ต่อมไพเนียล (pineal gland) ในสมอง โดยมีความมืดเป็นตัวกระตุ้นให้หลั่งเมลาโทนินเข้าสู่กระแสเลือดและจะหยุดหลั่งเมื่อเจอแสงสว่าง โดยร่างกายจะเริ่มหลั่งเมลาโทนินออกมาตั้งแต่ช่วงที่พระอาทิตย์ตกดินทำให้คนเรารู้สึกง่วงและระดับฮอร์โมนเมลาโทนินจะคงอยู่ในกระแสเลือดประมาณ 10 – 60 พิโคกรัมต่อมิลลิตร (pg/mL) ติดต่อกัน 12 ชั่วโมง ก่อนที่ระดับฮอร์โมนเมลาโทนินจะลดลงตอนเช้า จนกระทั่งถึงเวลาประมาณ 9.00 น. ระดับเมลาโทนินในร่างกายจะลดต่ำลงจนวัดระดับไม่ได้ เมลาโทนินเหมาะกับใคร ? เนื่องจากเมลาโทนินมีคุณสมบัติเป็นตัวช่วยในการคงการหลับ (maintain sleep) ซึ่งจะทำให้ง่วงหรือหลับเร็วจึงเหมาะกับกลุ่มคนดังต่อไปนี้ บุคคลที่มีอาการนอนหลับผิดเวลา หรือ delayed sleep phase syndrome ซึ่งเป็นความผิดปกติด้านการนอนหลับ คือไม่สามารถนอนหลับได้ก่อนเวลา 2.00 น. และมักมีปัญหาในการตื่นนอนตอนเช้า บุคคลที่เป็นโรคนอนไม่หลับ (insomnia) […]

ทำไมน้ำกับน้ำมันถึงเข้ากันไม่ได้

6 July 20216 July 2021 31K

เราเคยสงสัยกันบ้างไหมว่าเพราะเหตุใดน้ำกับน้ำมันถึงแยกชั้นกันทุกครั้งที่มีการผสมน้ำกับน้ำมันเข้าด้วยกันจะแยกชั้นกันทันที น้ำมันอยู่ชั้นบนและน้ำอยู่ชั้นล่าง เพราะความหนาแน่นที่แตกต่างกันของน้ำกับน้ำมัน ซึ่งน้ำมันมีความหนาแน่นน้อยกว่าน้ำ จึงทำให้ลอยอยู่เหนือผิวน้ำ นอกจากนี้ยังมีอีกเหตุผลหนึ่งที่ทำให้น้ำและน้ำมันแยกชั้นและไม่ผสมเป็นเนื้อเดียวกัน เนื่องจากการจัดเรียงอะตอมในโมเลกุลของน้ำกับน้ำมันที่แตกต่างกัน โดยปกติแล้วตัวทำละลายที่มีขั้วไฟฟ้าจะละลายเข้ากับตัวทำละลายที่มีขั้วไฟฟ้าด้วยกัน และตัวละลายที่ไม่มีขั้วไฟฟ้าก็จะทำละลายกับตัวทำละลายที่ไม่มีขั้วไฟฟ้าด้วยกัน แต่น้ำเป็นตัวทำละลายที่มีขั้วไฟฟ้า เมื่อผสมเข้ากับน้ำมันที่เป็นตัวทำละลายที่ไม่มีขั้วไฟฟ้า จึงทำให้ของเหลวทั้งสองไม่สามารถผสมเข้ากันได้นั่นเอง Facebook iconFacebookTwitter iconTwitterLINE iconLine

ข่าว

ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวกิจกรรม
ภาพข่าวกิจกรรม

ประกาศ

แผนการจัดซื้อจัดจ้าง
ประกาศจัดซื้อจัดจ้าง
ประกาศรับสมัครงาน
รางวัลที่ภาคภูมิใจ
นโยบายการอนุรักษ์พลังงาน

บริการ

ท้องฟ้าจำลอง
นิทรรศการถาวร
นิทรรศการเสมือนจริง
ศูนย์บริการวิทยาศาสตร์สุขภาพ
ศูนย์สร้างสรรค์เยาวชน
กิจกรรมการศึกษา
บทความวิชาการ

ระบบสารสนเทศ

ฐานข้อมูลโครงการประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สำหรับนักศึกษา กศน.
รายงานผลการดำเนินงานของศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา
ระบบฐานข้อมูลรูปภาพ
ระบบฐานข้อมูลครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์

รู้จักเรา

วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าประสงค์
โครงสร้างองค์กร
ประวัติหน่วยงาน
ตราสัญลักษณ์
เครื่องฉายดาว
คำถามที่พบบ่อย (FAQ)

ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา 928 ถนนสุขุมวิท เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ : 0 2392 1773 โทรสาร : 0 2392 0508, 0 2391 0522 E - mail : nsce@sci-educ.nfe.go.th