Skip to content
ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา

ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา

  • หน้าแรก
  • ข่าว
    • ข่าวประชาสัมพันธ์
    • ข่าวกิจกรรม
    • ภาพข่าวกิจกรรม
  • ประกาศ
    • แผนการจัดซื้อจัดจ้าง
    • ประกาศจัดซื้อจัดจ้าง
    • ประกาศรับสมัครงาน
    • รางวัลที่ภาคภูมิใจ
    • ระเบียบ ข้อกำหนด และประกาศ
    • นโยบายการอนุรักษ์พลังงาน
  • บริการ
    • ท้องฟ้าจำลอง
      • ระบบแสดงที่นั่งการแสดงท้องฟ้าจำลอง
      • กำหนดการฉายภาพยนตร์เต็มโดม
      • ตารางรอบการแสดงท้องฟ้าจำลอง
    • นิทรรศการถาวร
    • นิทรรศการเสมือนจริง
    • ศูนย์บริการวิทยาศาสตร์สุขภาพ
    • ศูนย์สร้างสรรค์เยาวชน
    • กิจกรรมการศึกษา
      • ใบจองกิจกรรมการศึกษา
    • กิจกรรมและสือการเรียนรู้ออนไลน์
    • ข้อมูลวิชาการ
      • บทความวิชาการ
      • บทความวิชาการ (PDF)
      • สื่อการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
      • คู่มือสําหรับผู้สอนหรือผู้นํากิจกรรม
  • ระบบสารสนเทศ
    • ฐานข้อมูลโครงการประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สำหรับนักศึกษา กศน.
    • รายงานผลการดำเนินงาน
    • ข้อมูลเชิงสถิติการให้บริการ
    • เอกสารดาวน์โหลด
      • คู่มือการให้บริการ
      • ขออนุมัติหลักการจัดซื้อจัดจ้าง
    • ระบบฐานข้อมูลรูปภาพ
    • ระบบฐานข้อมูลครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์
    • แบบวัดการรับรู้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก (EIT)
  • รู้จักเรา
    • วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าประสงค์
    • โครงสร้างองค์กร
    • ประวัติหน่วยงาน
      • ประวัติศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา
      • ประวัติศูนย์สร้างสรรค์เยาวชน (กระจ่าง บริรักษ์นิติเกษตร)
    • ตราสัญลักษณ์
    • เครื่องฉายดาว
      • เครื่องฉายดาว ZEISS Mark IV (มาร์ค โฟร์)
      • เครื่องฉายดาวระบบดิจิตอล
  • ติดต่อเรา
    • ติดต่อศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา
    • ติดต่อศูนย์สร้างสรรค์เยาวชน
  • หน้าแรก
  • ข่าว
    • ข่าวประชาสัมพันธ์
    • ข่าวกิจกรรม
    • ภาพข่าวกิจกรรม
  • ประกาศ
    • แผนการจัดซื้อจัดจ้าง
    • ประกาศจัดซื้อจัดจ้าง
    • ประกาศรับสมัครงาน
    • รางวัลที่ภาคภูมิใจ
    • ระเบียบ ข้อกำหนด และประกาศ
    • นโยบายการอนุรักษ์พลังงาน
  • บริการ
    • ท้องฟ้าจำลอง
      • ระบบแสดงที่นั่งการแสดงท้องฟ้าจำลอง
      • กำหนดการฉายภาพยนตร์เต็มโดม
      • ตารางรอบการแสดงท้องฟ้าจำลอง
    • นิทรรศการถาวร
    • นิทรรศการเสมือนจริง
    • ศูนย์บริการวิทยาศาสตร์สุขภาพ
    • ศูนย์สร้างสรรค์เยาวชน
    • กิจกรรมการศึกษา
      • ใบจองกิจกรรมการศึกษา
    • กิจกรรมและสือการเรียนรู้ออนไลน์
    • ข้อมูลวิชาการ
      • บทความวิชาการ
      • บทความวิชาการ (PDF)
      • สื่อการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
      • คู่มือสําหรับผู้สอนหรือผู้นํากิจกรรม
  • ระบบสารสนเทศ
    • ฐานข้อมูลโครงการประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สำหรับนักศึกษา กศน.
    • รายงานผลการดำเนินงาน
    • ข้อมูลเชิงสถิติการให้บริการ
    • เอกสารดาวน์โหลด
      • คู่มือการให้บริการ
      • ขออนุมัติหลักการจัดซื้อจัดจ้าง
    • ระบบฐานข้อมูลรูปภาพ
    • ระบบฐานข้อมูลครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์
    • แบบวัดการรับรู้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก (EIT)
  • รู้จักเรา
    • วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าประสงค์
    • โครงสร้างองค์กร
    • ประวัติหน่วยงาน
      • ประวัติศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา
      • ประวัติศูนย์สร้างสรรค์เยาวชน (กระจ่าง บริรักษ์นิติเกษตร)
    • ตราสัญลักษณ์
    • เครื่องฉายดาว
      • เครื่องฉายดาว ZEISS Mark IV (มาร์ค โฟร์)
      • เครื่องฉายดาวระบบดิจิตอล
  • ติดต่อเรา
    • ติดต่อศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา
    • ติดต่อศูนย์สร้างสรรค์เยาวชน
ถ้าหวัดหายไปจากโลก

ถ้าหวัดหายไปจากโลก

13 September 202113 September 2021 superadmin บทความวิชาการ 90
  • Facebook iconFacebook
  • Twitter iconTwitter
  • LINE iconLine

superadmin

ข่าวสาร กิจกรรม บทความและนิทรรศการถาวรที่น่าสนใจ

กิจกรรมการประกวดแข่งขัน “วิทยาศาสตร์ในภูมิปัญญาไทย”

2 April 20231 May 2023 0.6K

การประกวดแข่งขัน “วิทยาศาสตร์ในภูมิปัญญาไทย” เชิญชวนผู้ที่สนใจร่วมส่งผลงานเข้าประกวดแข่งขัน “วิทยาศาสตร์ในภูมิปัญญาไทย” ประเภท สิ่งประดิษฐ์เพื่อช่วยเสริมคุณภาพชีวิตสำหรับผู้สูงอายุ โครงการกิจกรรมส่งเสริมความรู้ด้านวิทยาศาสตร์สำหรับผู้สูงวัย “แฮปปี้…สูงวัย” ประจำปีงบประมาณ 2566  โดยสามารถกรอก ใบสมัครลงทะเบียนผ่านระบบออนไลน์ และส่งหลักฐานการสมัครได้ตั้งแต่วันนี้ – 9 มิถุนายน 2566 รายละเอียดโครงการ : หลักเกณฑ์การประกวด  หรือ สแกน QR Code ในรูปภาพเพื่อดูรายละเอียดและสมัครได้เลยสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ 02-3910544, 02-3920508 และ 061-8793919 (อ.เอส) , 0852609401 (อ.เบนซ์) Facebook iconFacebookTwitter iconTwitterLINE iconLine

SNAIL OF THE DEAD

2 February 20222 February 2022 0.9K

เปิดชื่อหัวเรื่องมาแบบนี้ บางคนอาจจะนึกถึงภาพยนตร์แนวซอมบี้ขึ้นมาทันที เพราะมีอยู่หลายเรื่องที่ชอบตั้งชื่อแล้วเติมด้วยประโยคว่า of the dead snail of the dead หรือหอยทากแห่งความตายที่จะกล่าวถึงก็เช่นเดียวกัน มันเป็นเรื่องราวของหอยทากที่กลายเป็นซอมบี้!! เราคงไม่ทราบหรอกว่าซอมบี้ (zombie) มันมีจริงหรือไม่ แต่ในโลกใบนี้มันก็มีสภาวะใกล้เคียงการเป็นซอมบี้แบบในภาพยนตร์อยู่ด้วย หอยทากซอบบี้ (snail zombie) เป็นสภาวะที่หอยทากในตระกูลซัคซิเนีย (Succinea) ถูกปรสิตที่ชื่อว่า “ลิวโคคลอริเดียม พาราดอกซัม” (Leucochloridium paradoxum) หรือ “หนอนบรูดแซคแถบเขียว” (the green-banded broodsac) เข้าไปครอบครองร่าง และบงการให้หอยทากผู้โชคร้ายตัวนั้นคืบคลานไปสู่ความตาย หนอนบรูดแซคแถบเขียว เป็นหนอนตัวแบนที่อาศัยอยู่ภายในทางเดินอาหารของนก และจะวางไข่ปะปนกับมูลของนกที่ถ่ายออกมา และเมื่อหอยทากไปกินมูลของนก ไข่ของหนอนบรูดแซคแถบเขียวจะแพร่กระจายเข้าสู่ร่างกายของทอยหากไปด้วย เมื่อไข่ของหนอนปรสิตเดินทางสู่ระบบย่อยอาหารของหอยทาก ไข่จะฟักเป็นตัวอ่อน อาศัยกินอยู่ภายในร่างของหอยทากอับโชคตัวนี้ และตัวอ่อนเหล่านั้นจะเดินทางสู่กระบอกตาของหอยทาก เพิ่มสีสันอันสวยงาม (รึเปล่า?) ให้ก้านตา และเมื่อตัวอ่อนมีขนาดใหญ่ขึ้นจะเห็นเป็นหนอนผู้สิงร่างเต็มกระบอกตาของหอยทาก ปกติแล้วหอยทากจะหากินในที่อับชื้นและมืด แต่เมื่อถูกหนอนสิงร่างอยู่ทำให้ดวงตาของมันสูญเสียความสามารถในการรับแสงไป หอยทากจึงคืบคลานเข้าหาแสงได้ บางครั้งไปอยู่บริเวณยอดของต้นไม้อีกด้วย ไม่เพียงแค่นั้น ก้านตาที่กลายสภาพเป็นหนอนเต้นกระดุกกระดิกไปมา ทำให้หอยทากถูกสังเกตเห็นได้ง่าย และสุดท้ายก็ถูกนกโฉบไปกิน เป็นอันจบชีวิตหอยทากซอมบี้ที่น่าสงสาร […]

Scratch โปรแกรมการเขียนโค้ดดิ้ง

13 March 20225 October 2022 49K

เราจะมาทำความรู้จักกับโปรแกรมการเขียนโค้ดดิ้งในรูปแบบที่ใช้งานได้ง่าย สามารถสร้างเรื่องราวต่าง ๆ ได้อย่างง่ายดาย ไม่ว่าจะเป็นภาพเคลื่อนไหว เกม และอื่น ๆ อีกมากมาย ซึ่งโปรแกรมที่เราพูดถึง คือโปรแกรม Scratch นั่นเอง โปรแกรม Scratch คืออะไร Scratch อ่านว่า สะ-แครช เป็นโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ ที่ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อใช้งานในรูปแบบของบล็อกคำสั่ง (Block Programming) แล้วนำมาต่อกันเพื่อสร้างรหัสคำสั่ง (Code) เพื่อสั่งให้โปรแกรม Scratch ทำงานตามที่ได้เขียนโปรแกรมไว้ สามารถนำมาใช้พัฒนาซอฟต์แวร์เชิงสร้างสรรค์ เช่น ภาพเคลื่อนไหว นิทานที่สามารถโต้ตอบกับผู้อ่านได้ เกม ดนตรี และศิลปะ และเมื่อสร้างเป็นชิ้นงานแล้ว ยังสามารถนำชิ้นงานที่สร้างนี้ นำไปแสดงและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกับผู้อื่นได้ นอกจากนี้ โปรแกรม Scratch เปิดให้บริการโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย แปลเป็นภาษาต่าง ๆ กว่า 74 ภาษา และมีการเปิดสอนตั้งแต่ในโรงเรียนจนถึงมหาวิทยาลัย โดยการเข้าใช้งานมี 2 วิธี คือ การเข้าใช้งานแบบออนไลน์ได้ที่เว็บไซต์ https://scratch.mit.edu และการเข้าใช้งานแบบออฟไลน์ได้ที่เว็บไซต์ […]

เหตุผลที่ไม่รู้สึกหิวในตอนเช้า

24 January 202224 January 2022 3K

เราคงเคยได้ยินว่าอาหารมื้อเช้าเป็นมื้ออาหารที่สำคัญ เพราะการกินอาหารเช้าจะช่วยเติมท้องที่ว่างของเรา เมื่อตื่นนอนในตอนเช้าระดับน้ำตาลในเลือดจะต่ำ เมื่อเราลุกขึ้นเคลื่อนไหวก็อาจจะรู้สึกหิว แต่ก็อาจมีบางครั้งที่เราไม่หิว ซึ่งการไม่หิวนั้นอาจเป็นสัญญาณของการเกิดปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพก็เป็นได้ แล้วสาเหตุที่ทำให้เราไม่รู้สึกหิวในตอนเช้ามีอะไรกันบ้างนะ 1. ทานอาหารเย็นมื้อใหญ่หรือทานของว่างตอนดึก ถ้าหากกินอาหารที่มีไขมันหรือโปรตีนสูง จะทำให้เรารู้สึกอิ่มนานขึ้น โดยเฉพาะโปรตีนที่สามารเปลี่ยนแปลงระดับของฮอร์โมนที่ควบคุมความหิวและความอยากอาหาร และอาหารที่มีไขมันสูงอาจเปลี่ยนแปลงระดับของฮอร์โมนบางชนิดที่เกี่ยวข้องกับความอยากอาหารและความรู้สึกอิ่ม ส่งผลให้ความหิวลดลง 2. ระดับฮอร์โมนเกิดการเปลี่ยนแปลงในชั่วข้ามคืน การวิจัยแสดงให้เห็นว่าระดับของอะดรีนาลีน (Adrenaline) มักจะสูงขึ้นในตอนเช้า เชื่อกันว่าฮอร์โมนนี้ยับยั้งความอยากอาหารและเพิ่มการสลายคาร์โบไฮเดรตที่เก็บไว้ในตับและกล้ามเนื้อเพื่อเติมพลังงานให้กับร่างกาย งานวิจัยชิ้นหนึ่งพบว่าระดับของเกรลิน (Ghrelin) ซึ่งเป็นฮอร์โมนความหิวลดลงในตอนเช้าเมื่อเทียบกับเมื่อคืนก่อน นอกจากนี้ยังสามารถอธิบายได้ว่าทำไมคุณรู้สึกหิวน้อยลงเมื่อตื่นขึ้น งานวิจัยบางชิ้นแนะนำว่าระดับเลปติน (Leptin) ซึ่งเป็นฮอร์โมนที่กระตุ้นความรู้สึกอิ่มก็อาจสูงขึ้นในตอนเช้าเช่นกัน ระดับของฮอร์โมน เช่น อะดรีนาลีน เกรลิน และเลปติน จะผันผวนในชั่วข้ามคืนและในตอนเช้าซึ่งจะทำให้คุณรู้สึกหิวน้อยลงเมื่อตื่นนอน 3. คุณรู้สึกวิตกกังวลหรือความหดหู่ ความวิตกกังวลและภาวะซึมเศร้าอาจทำให้เบื่ออาหาร ซึ่งอาจทำให้คุณรู้สึกหิวน้อยลงในตอนเช้า 4. เกิดอาการเจ็บป่วย การเจ็บป่วยบางอย่างสามารถลดความอยากอาหารของคุณได้เนื่องจากอาการต่าง ๆ เช่น คลื่นไส้อาเจียน และสูญเสียรสชาติจากการรับรสและกลิ่น 5. สาเหตุอื่น ๆ ต่อไปนี้เป็นสาเหตุที่เป็นไปได้ในบางประการที่ทำให้ความหิวลดลงในตอนเช้า กำลังใช้ยาบางชนิด รวมทั้งยาขับปัสสาวะและยาปฏิชีวนะ สามารถลดความหิวและความอยากอาหารได้ อายุมากขึ้นความอยากอาหารลดลงเป็นเรื่องปกติในผู้สูงอายุและอาจเกิดจากการเปลี่ยนแปลงความต้องการพลังงาน ฮอร์โมน และรสชาติหรือกลิ่น มีปัญหาต่อมไทรอยด์ […]

สัตว์เลี้ยง (หรือ) สัตว์แปลก

8 October 20218 October 2021 1K

หากกล่าวถึงสัตว์เลี้ยงชนิดพิเศษหรือ exotic pets คนส่วนใหญ่มักจะนึกถึงสัตว์เลื้อยคลานและสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำเท่านั้น แต่จริง ๆ แล้ว สัตว์เลี้ยงชนิดพิเศษสามารถจำแนกได้หลายกลุ่มไม่ว่าจะเป็นกลุ่มสัตว์เลื้อยคลาน กลุ่มสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ กลุ่มสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง กลุ่มสัตว์ปีก กลุ่มปลาแปลก และกลุ่มเลี้ยงลูกด้วยน้ำนม นอกจากกลุ่มที่กล่าวมาแล้วนี้แล้วยังสามารถแบ่งตามแนวทางการเลี้ยงและความชอบส่วนบุคคล เช่นความแปลกเนื่องจากเป็นชนิดพันธุ์ที่หายาก (rare & very rare species) หรือความแปลกเนื่องจากความผิดปกติของยีนและเม็ดสี (morphs) ที่เราเรียกกันว่าสัตว์เผือก เป็นต้น และสัตว์เลี้ยงชนิดพิเศษยังหมายถึงสัตว์พื้นบ้านหรือสัตว์ป่าประจำถิ่นที่ไม่ผิดกฎหมายด้วย อยากจะเลี้ยงต้องตรวจสอบอะไรบ้าง ในการจะเลี้ยงสัตว์เลี้ยงชนิดพิเศษจะต้องคำนึงถึงกฎหมายก่อนเป็นอันดับแรก ปัจจุบันสัตว์เลี้ยงชนิดพิเศษบางชนิดไม่ต้องขออนุญาตในการครอบครอง แต่บางชนิดยังต้องมีการขออนุญาตตามข้อบังคับของไซเตส (CITES) หรืออนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์ เช่น เต่าดาวอินเดียที่ใกล้สูญพันธุ์ในธรรมชาติ จะไม่สามารถเลี้ยงได้เนื่องจากผิดกฎหมาย ส่วนคนที่มีในครอบครองอยู่แล้วจะต้องไปจดทะเบียนไว้กับหน่วยงานที่รับผิดชอบเช่นกรมป่าไม้ หรือกรมคุ้มครองสัตว์ป่า กรณีสัตว์ป่าที่ขึ้นทะเบียนเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองในไทย เช่น พญากระรอกดำ แมวดาว ห้ามมีไว้ครอบครอง แต่กรณีเป็นกลุ่มสัตว์ป่าที่ถูกนำเข้ามาจากต่างประเทศสามารถเลี้ยงได้และถ้ามีใบอนุญาตเพาะพันธุ์ก็จะถือว่าไม่ผิดกฎหมาย นอกจากเรื่องของกฎหมายแล้วผู้เลี้ยงจะต้องศึกษาทำความเข้าใจ และรู้จักนิสัยของสัตว์เลี้ยงชนิดพิเศษเป็นอย่างดีก่อนนำมาเลี้ยงไม่ว่าจะเป็นที่อยู่อาศัย อาหาร สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม พฤติกรรมทางธรรมชาติของสัตว์ชนิดนั้น รวมไปถึงการหาข้อมูลโรงพยาบาลสัตว์พิเศษเนื่องจากสัตว์เลี้ยงชนิดพิเศษต้องมีหมอเฉพาะทางในการรักษาและต้องใช้เครื่องมือที่แตกต่างจากสัตว์เลี้ยงทั่วไป เลี้ยงแล้ว อย่าทิ้ง (กัน) นะ สัตว์เลี้ยงชนิดพิเศษเหล่านี้ได้รับอนุญาตให้สามารถซื้อขายและเพาะพันธุ์ได้อย่างถูกกฎหมายทั้งในและต่างประเทศ ดังนั้นผู้ที่สนใจเลี้ยงสัตว์เลี้ยงชนิดพิเศษจะต้องคำนึงเสมอว่าสัตว์เหล่านี้ถูกเพาะพันธุ์มาเพื่อให้แตกต่างจากสัตว์ที่เจอตามธรรมชาติ จึงไม่ควรไปจับ […]

ข่าว

ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวกิจกรรม
ภาพข่าวกิจกรรม

ประกาศ

แผนการจัดซื้อจัดจ้าง
ประกาศจัดซื้อจัดจ้าง
ประกาศรับสมัครงาน
รางวัลที่ภาคภูมิใจ
นโยบายการอนุรักษ์พลังงาน

บริการ

ท้องฟ้าจำลอง
นิทรรศการถาวร
นิทรรศการเสมือนจริง
ศูนย์บริการวิทยาศาสตร์สุขภาพ
ศูนย์สร้างสรรค์เยาวชน
กิจกรรมการศึกษา
บทความวิชาการ

ระบบสารสนเทศ

ฐานข้อมูลโครงการประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สำหรับนักศึกษา กศน.
รายงานผลการดำเนินงานของศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา
ระบบฐานข้อมูลรูปภาพ
ระบบฐานข้อมูลครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์

รู้จักเรา

วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าประสงค์
โครงสร้างองค์กร
ประวัติหน่วยงาน
ตราสัญลักษณ์
เครื่องฉายดาว
คำถามที่พบบ่อย (FAQ)

ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา 928 ถนนสุขุมวิท เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ : 0 2392 1773 โทรสาร : 0 2392 0508, 0 2391 0522 E - mail : nsce@sci-educ.nfe.go.th